โรคที่มากับน้ำท่วม และ วิธีป้องกัน ในโรคนั้นๆ

รูปภาพของ sss28028

โรคทางเดินหายใจ (เช่น หวัด หวัดใหญ่ ปอดบวม)
อาการ ครั่นเนื้อครั่นตัว มีไข้ ปวดศีรษะ คัดจมูก มีน้ำมูก ไอ จาม เจ็บคอ ปวดเมื่อยตามร่างกาย
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
วิธีป้องกัน
- ดูแลร่างกายให้อบอุ่นอยู่เสมอ โดยหลีกเลี่ยงการเล่นน้ำหรือแช่น้ำเป็นเวลานานไม่สวมเสื้อผ้า
ที่เปียกชื้น เช็ดตัวให้แห้งอยู่เสมอ และสวมเสื้อผ้าให้หนาพอหากอากาศเย็น
- หลีกเลี่ยงการใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่เป็นหวัด
- ปิดปากและจมูกด้วยผ้าหรือกระดาษทิชชูเวลาไอ หรือจาม
- ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยน้ำและสบู่


• โรคทางเดินอาหาร (เช่น อุจจาระร่วง อหิวาตกโรค อาหารเป็นพิษ บิด ไทฟอยด์)
อาการ ถ่ายอุจจาระเหลว หรือถ่ายเป็นน้ำ หรือถ่ายมีมูกเลือด ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ
มีไข้ ปวดเมื่อยตามตัว เบื่ออาหาร
วิธีป้องกัน
- รับประทานอาหารที่ปรุงสุกและสะอาด ไม่บูดเสีย อาหารกระป๋องยังไม่หมดอายุ
กระป๋องไม่บวมหรือเป็นสนิม
- ดื่มน้ำสะอาด เช่น น้ำต้มสุก น้ำขวด
- ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่ก่อนปรุงและเตรียมอาหาร ก่อนรับประทานอาหาร และหลังการขับถ่าย

• โรคฉี่หนู (หรือโรคเลปโตสไปโรซิส) และโรคน้ำกัดเท้า
อาการโรคฉี่หนู มีไข้สูงทันทีทันใด ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อมาก โดยเฉพาะบริเวณน่องและ
โคนขา หรือปวดหลัง บางรายมีอาการตาแดง มีจุดเลือดออกตามผิวหนัง
ไอมีเลือดปน ตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะน้อย ซึม สับสน
อาการโรคน้ำกัดเท้า เท้าเปื่อยและเป็นหนอง คันตามซอกนิ้วเท้า ผิวหนังลอกเป็นขุย
มีผื่นพุพอง ผิวหนังอักเสบบวมแดง
วิธีป้องกัน
- หลีกเลี่ยงการลุยน้ำย่ำโคลนโดยไม่จำเป็น
- ถ้ามีบาดแผลต้องป้องกันไม่ให้สัมผัสถูกน้ำโดยสวมรองเท้าบู๊ทยาง
- หากต้องลุยน้ำย่ำโคลนต้องรีบล้างเท้าให้สะอาดด้วยสบู่แล้วเช็ดให้แห้งอยู่เสมอโดยเร็วที่สุด

วิธีทำรองเท้าถุงพลาสติกป้องกันโรคทดแทนรองเท้าบู๊ท
วัสดุที่เตรียม
1. ถุงพลาสติกหนาๆเช่น ถุงดำหรือถุงขยะ
2. ถุงเท้าถ้าได้ชนิดยาวยิ่งดี
3. รองเท้าหุ้มส้น เช่น รองเท้าผ้าใบหรือ รองเท้ากีฬา
4. เชือกฟาง หรือเชือกด้าย
วิธีสวมใส่
ขั้นตอนที่ 1 ให้สวมถุงพลาสติกที่เตรียมไว้ที่เท้าให้สูงเหนือเข่าหรือเหนือระดับน้ำท่วม

ขั้นตอนที่ 2 สวมถุงเท้าทับถุงพลาสติกอีกชั้นหนึ่ง

ขั้นตอนที่ 3 มัดเชือกปิดปากถุงที่ระดับเหนือเข่าหรือเหนือระดับน้ำเพื่อป้องกันไม่ให้น้ำเข้าสัมผัส
กับขาได้

ขั้นตอนที่ 4 พยายามไล่ลมออกจากถุงพลาสติกเพื่อให้ถุงแนบกับเท้าหรือขามากที่สุด

ขั้นตอนที่ 5 สวมรองเท้าหุ้มส้น

ขั้นตอนที่ 6 ทำเช่นเดียวกันกับขาทั้งสองข้าง
หมายเหตุ : ควรสวมกางเกงขายาวโดยสวมถุงพลาสติกทับขากางเกงถ้าทำได้
                      โรคทางเดินหายใจ (เช่น หวัด หวัดใหญ่ ปอดบวม)
อาการ ครั่นเนื้อครั่นตัว มีไข้ ปวดศีรษะ คัดจมูก มีน้ำมูก ไอ จาม เจ็บคอ ปวดเมื่อยตามร่างกาย
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
วิธีป้องกัน
- ดูแลร่างกายให้อบอุ่นอยู่เสมอ โดยหลีกเลี่ยงการเล่นน้ำหรือแช่น้ำเป็นเวลานานไม่สวมเสื้อผ้า
ที่เปียกชื้น เช็ดตัวให้แห้งอยู่เสมอ และสวมเสื้อผ้าให้หนาพอหากอากาศเย็น
- หลีกเลี่ยงการใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่เป็นหวัด
- ปิดปากและจมูกด้วยผ้าหรือกระดาษทิชชูเวลาไอ หรือจาม
- ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยน้ำและสบู่
• โรคทางเดินอาหาร (เช่น อุจจาระร่วง อหิวาตกโรค อาหารเป็นพิษ บิด ไทฟอยด์)
อาการ ถ่ายอุจจาระเหลว หรือถ่ายเป็นน้ำ หรือถ่ายมีมูกเลือด ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ
มีไข้ ปวดเมื่อยตามตัว เบื่ออาหาร
วิธีป้องกัน
- รับประทานอาหารที่ปรุงสุกและสะอาด ไม่บูดเสีย อาหารกระป๋องยังไม่หมดอายุ
กระป๋องไม่บวมหรือเป็นสนิม
- ดื่มน้ำสะอาด เช่น น้ำต้มสุก น้ำขวด
- ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่ก่อนปรุงและเตรียมอาหาร ก่อนรับประทานอาหาร และหลังการขับถ่าย

• โรคฉี่หนู (หรือโรคเลปโตสไปโรซิส) และโรคน้ำกัดเท้า
อาการโรคฉี่หนู มีไข้สูงทันทีทันใด ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อมาก โดยเฉพาะบริเวณน่องและ
โคนขา หรือปวดหลัง บางรายมีอาการตาแดง มีจุดเลือดออกตามผิวหนัง
ไอมีเลือดปน ตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะน้อย ซึม สับสน
อาการโรคน้ำกัดเท้า เท้าเปื่อยและเป็นหนอง คันตามซอกนิ้วเท้า ผิวหนังลอกเป็นขุย
มีผื่นพุพอง ผิวหนังอักเสบบวมแดง
วิธีป้องกัน
- หลีกเลี่ยงการลุยน้ำย่ำโคลนโดยไม่จำเป็น
- ถ้ามีบาดแผลต้องป้องกันไม่ให้สัมผัสถูกน้ำโดยสวมรองเท้าบู๊ทยาง
- หากต้องลุยน้ำย่ำโคลนต้องรีบล้างเท้าให้สะอาดด้วยสบู่แล้วเช็ดให้แห้งอยู่เสมอโดยเร็วที่สุด

โรคทางเดินหายใจ (เช่น หวัด หวัดใหญ่ ปอดบวม)
อาการ ครั่นเนื้อครั่นตัว มีไข้ ปวดศีรษะ คัดจมูก มีน้ำมูก ไอ จาม เจ็บคอ ปวดเมื่อยตามร่างกาย
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร
วิธีป้องกัน
- ดูแลร่างกายให้อบอุ่นอยู่เสมอ โดยหลีกเลี่ยงการเล่นน้ำหรือแช่น้ำเป็นเวลานานไม่สวมเสื้อผ้า
ที่เปียกชื้น เช็ดตัวให้แห้งอยู่เสมอ และสวมเสื้อผ้าให้หนาพอหากอากาศเย็น
- หลีกเลี่ยงการใกล้ชิดกับผู้ป่วยที่เป็นหวัด
- ปิดปากและจมูกด้วยผ้าหรือกระดาษทิชชูเวลาไอ หรือจาม
- ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยน้ำและสบู่
• โรคทางเดินอาหาร (เช่น อุจจาระร่วง อหิวาตกโรค อาหารเป็นพิษ บิด ไทฟอยด์)
อาการ ถ่ายอุจจาระเหลว หรือถ่ายเป็นน้ำ หรือถ่ายมีมูกเลือด ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ
มีไข้ ปวดเมื่อยตามตัว เบื่ออาหาร
วิธีป้องกัน
- รับประทานอาหารที่ปรุงสุกและสะอาด ไม่บูดเสีย อาหารกระป๋องยังไม่หมดอายุ
กระป๋องไม่บวมหรือเป็นสนิม
- ดื่มน้ำสะอาด เช่น น้ำต้มสุก น้ำขวด
- ล้างมือให้สะอาดด้วยสบู่ก่อนปรุงและเตรียมอาหาร ก่อนรับประทานอาหาร และหลังการขับถ่าย

• โรคฉี่หนู (หรือโรคเลปโตสไปโรซิส) และโรคน้ำกัดเท้า
อาการโรคฉี่หนู มีไข้สูงทันทีทันใด ปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อมาก โดยเฉพาะบริเวณน่องและ
โคนขา หรือปวดหลัง บางรายมีอาการตาแดง มีจุดเลือดออกตามผิวหนัง
ไอมีเลือดปน ตัวเหลือง ตาเหลือง ปัสสาวะน้อย ซึม สับสน
อาการโรคน้ำกัดเท้า เท้าเปื่อยและเป็นหนอง คันตามซอกนิ้วเท้า ผิวหนังลอกเป็นขุย
มีผื่นพุพอง ผิวหนังอักเสบบวมแดง
วิธีป้องกัน
- หลีกเลี่ยงการลุยน้ำย่ำโคลนโดยไม่จำเป็น
- ถ้ามีบาดแผลต้องป้องกันไม่ให้สัมผัสถูกน้ำโดยสวมรองเท้าบู๊ทยาง
- หากต้องลุยน้ำย่ำโคลนต้องรีบล้างเท้าให้สะอาดด้วยสบู่แล้วเช็ดให้แห้งอยู่เสมอโดยเร็วที่สุด

วิธีทำรองเท้าถุงพลาสติกป้องกันโรคทดแทนรองเท้าบู๊ท
วัสดุที่เตรียม
1. ถุงพลาสติกหนาๆเช่น ถุงดำหรือถุงขยะ
2. ถุงเท้าถ้าได้ชนิดยาวยิ่งดี
3. รองเท้าหุ้มส้น เช่น รองเท้าผ้าใบหรือ รองเท้ากีฬา
4. เชือกฟาง หรือเชือกด้าย
วิธีสวมใส่
ขั้นตอนที่ 1 ให้สวมถุงพลาสติกที่เตรียมไว้ที่เท้าให้สูงเหนือเข่าหรือเหนือระดับน้ำท่วม

ขั้นตอนที่ 2 สวมถุงเท้าทับถุงพลาสติกอีกชั้นหนึ่ง

ขั้นตอนที่ 3 มัดเชือกปิดปากถุงที่ระดับเหนือเข่าหรือเหนือระดับน้ำเพื่อป้องกันไม่ให้น้ำเข้าสัมผัส
กับขาได้

ขั้นตอนที่ 4 พยายามไล่ลมออกจากถุงพลาสติกเพื่อให้ถุงแนบกับเท้าหรือขามากที่สุด

ขั้นตอนที่ 5 สวมรองเท้าหุ้มส้น

ขั้นตอนที่ 6 ทำเช่นเดียวกันกับขาทั้งสองข้าง
หมายเหตุ : ควรสวมกางเกงขายาวโดยสวมถุงพลาสติกทับขากางเกงถ้าทำได้

   โรคตาแดง
อาการ ระคายเคืองตา ปวดตา น้ำตาไหล กลัวแสง มีขี้ตามาก หนังตาบวม เยื่อบุตาขาวอักเสบแดง
อาจเริ่มที่ตาข้างหนึ่งก่อน แล้วจึงลามไปตาอีกข้างหนึ่ง
วิธีป้องกัน
- ถ้ามีฝุ่นละอองหรือน้ำสกปรกเข้าตาต้องรีบล้างด้วยนํ้าสะอาดทันที
- ไม่ควรขยี้ตา อย่าให้แมลงตอมตา และไม่ควรใช้สายตามากนัก
- ผู้ป่วยโรคตาแดงควรแยกจากคนอื่นๆ และไม่ใช้สิ่งของส่วนตัวร่วมกับคนอื่นเพื่อ
ป้องกันไม่ให้โรคแพร่ระบาด

 

วิธีทำรองเท้าถุงพลาสติกป้องกันโรคทดแทนรองเท้าบู๊ท
วัสดุที่เตรียม
1. ถุงพลาสติกหนาๆเช่น ถุงดำหรือถุงขยะ
2. ถุงเท้าถ้าได้ชนิดยาวยิ่งดี
3. รองเท้าหุ้มส้น เช่น รองเท้าผ้าใบหรือ รองเท้ากีฬา
4. เชือกฟาง หรือเชือกด้าย
วิธีสวมใส่
ขั้นตอนที่ 1 ให้สวมถุงพลาสติกที่เตรียมไว้ที่เท้าให้สูงเหนือเข่าหรือเหนือระดับน้ำท่วม

ขั้นตอนที่ 2 สวมถุงเท้าทับถุงพลาสติกอีกชั้นหนึ่ง

ขั้นตอนที่ 3 มัดเชือกปิดปากถุงที่ระดับเหนือเข่าหรือเหนือระดับน้ำเพื่อป้องกันไม่ให้น้ำเข้าสัมผัส
กับขาได้

ขั้นตอนที่ 4 พยายามไล่ลมออกจากถุงพลาสติกเพื่อให้ถุงแนบกับเท้าหรือขามากที่สุด

ขั้นตอนที่ 5 สวมรองเท้าหุ้มส้น

ขั้นตอนที่ 6 ทำเช่นเดียวกันกับขาทั้งสองข้าง
หมายเหตุ : ควรสวมกางเกงขายาวโดยสวมถุงพลาสติกทับขากางเกงถ้าทำได้


                      

รูปภาพของ ssspoonsak

อืม ดีจ้ะ แต่จะเพิ่มเติมอีกก็ได้นะจ้ะ

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 496 คน กำลังออนไลน์