• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:7b55756bc6c909838f0ac7823172c594' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u53504/111.jpg\" style=\"width: 382px; height: 144px\" border=\"0\" width=\"600\" height=\"300\" />  \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"/node/119848?page=0%2C1\"><img src=\"/files/u53504/23.gif\" style=\"width: 197px; height: 85px\" border=\"0\" align=\"right\" width=\"479\" height=\"232\" /></a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u53504/21.jpg\" style=\"width: 386px; height: 160px\" border=\"0\" width=\"563\" height=\"232\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p><a href=\"/node/119848?page=0%2C2\" title=\"EM คืออะไร\"><img src=\"/files/u53504/31.jpg\" style=\"width: 224px; height: 72px\" border=\"0\" align=\"left\" width=\"496\" height=\"198\" /></a>            <a href=\"/node/119848?page=0%2C3\"><img src=\"/files/u53504/41.jpg\" style=\"width: 243px; height: 76px\" border=\"0\" width=\"413\" height=\"187\" /></a> </p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/119848?page=0%2C4\"><img src=\"/files/u53504/191.jpg\" style=\"width: 227px; height: 75px\" border=\"0\" width=\"495\" height=\"175\" /></a>           <img src=\"/\" border=\"0\" width=\"1\" height=\"1\" /><a href=\"/node/119848?page=0%2C8\"><img src=\"/files/u53504/451.jpg\" style=\"width: 250px; height: 75px\" border=\"0\" width=\"468\" height=\"132\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<a href=\"/node/119848?page=0%2C9\"><img src=\"/files/u53504/461.jpg\" style=\"width: 282px; height: 74px\" border=\"0\" width=\"447\" height=\"161\" /></a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/119848?page=0%2C0\"><img src=\"/files/u53504/Post_it__________________________________1.jpg\" style=\"width: 208px; height: 205px\" border=\"0\" width=\"200\" height=\"266\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<i><b>            </b></i>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<i></i></p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p><b><span style=\"color: #003300\">      <span style=\"color: #003300\" class=\"Apple-style-span\">   <br />\n</span></span></b>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<i><b><br />\n<img src=\"/files/u53504/31.jpg\" style=\"width: 324px; height: 147px\" border=\"0\" width=\"496\" height=\"198\" /><br />\n</b></i>\n</div>\n<p><i><b></b></i></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u53504/16.gif\" border=\"0\" width=\"520\" height=\"20\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<i><b><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\" class=\"Apple-style-span\">          EM ย่อมาจากคำว่า Effective Microorganisms ซึ่งมีความหมายว่า กลุ่มจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพ มีลักษณะเป็นของเหลว สีน้ำตาล กลิ่นหวานอมเปรี้ยว คุณสมบัติบางประการและการเก็บรักษา</span></span></b></i>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<i><b><span style=\"color: #003300\"><span style=\"color: #003300\" class=\"Apple-style-span\"></span></span></b></i><b><span style=\"color: #003300\" class=\"Apple-style-span\"></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #003300\"><i><span style=\"color: #003300\" class=\"Apple-style-span\">      1.EM เป็นสิ่งมีชีวิต ต้องเก็บไว้ในที่ร่ม อุณหภูมิปกติ ไม่ร้อนจัดหรือเย็นจัด ประมาณ 20 – 45 องศาเซลเซียส หากไม่ได้เปิด</span></i></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #003300\"><i><span style=\"color: #003300\" class=\"Apple-style-span\">         ใช้ได้นานกว่า 1 ปี</span></i></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #003300\"><i><span style=\"color: #003300\" class=\"Apple-style-span\"></span></i></span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #003300\"><i><span style=\"color: #003300\" class=\"Apple-style-span\">      2.EM ไม่ใช่ปุ๋ย แต่เป็นกลุ่มจุลินทรีย์ที่อยู่ในสภาพพัก การนำไปใช้หากเปิดใช้แล้วให้รีบปิด เก็บไว้ได้นาน 6 เดือน</span></i> </span></b>\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #003300\"></span></b>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<b><span style=\"color: #003300\"><a href=\"/node/119848?page=0%2C1\"><img src=\"/files/u53504/39.jpg\" style=\"width: 135px; height: 111px\" border=\"0\" width=\"300\" height=\"306\" /></a></span></b>\n</p>\n<p><b></b></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u53504/41.jpg\" style=\"width: 417px; height: 166px\" border=\"0\" width=\"413\" height=\"187\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u53504/16.gif\" style=\"width: 533px; height: 20px\" border=\"0\" width=\"520\" height=\"20\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u53504/141.jpg\" border=\"0\" width=\"224\" height=\"324\" />\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<b>ที่มา </b><a href=\"http://www.emro-asia.com/img/about-em/discovery/higa_suits.jpg\"><b>http://www.emro-asia.com/img/about-em/discovery/higa_suits.jpg</b></a><b> </b>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #993300\">            ค้นพบโดย ศาสตราจารย์ ดร.เทรูโอะ ฮิหงะ แห่งมหาวิทยาลัยริวกิว โอกินาวา ประเทศญี่ปุ่น (ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง ประธานสถาบัน EM เทคโนโลยีนานาชาติ มหาวิทยาลัยเมโอ โอกินาวา ประเทศญี่ปุ่น) ซึ่งได้ทำการศึกษา ค้นคว้า ทดลอง ระหว่าง พ.ศ. 2510 - 2525 ได้พบความจริงเกี่ยวกับจุลินทรีย์ในธรรมชาติ และได้คัดสรรเอาเฉพาะจุลินทรีย์กลุ่มดีที่มีประโยชน์มาเลี้ยงรวมด้วยเทคนิคพิเศษ</span></b>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/119848?page=0%2C1\"><img src=\"/files/u53504/39.jpg\" style=\"width: 135px; height: 111px\" border=\"0\" width=\"300\" height=\"306\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u53504/191.jpg\" style=\"width: 458px; height: 156px\" border=\"0\" width=\"495\" height=\"175\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u53504/16.gif\" border=\"0\" width=\"520\" height=\"20\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #061373\">         คำว่า จุลินทรีย์หรือแบคทีเรีย บางคนอาจเข้าใจว่าเป็นเชื้อโรคที่เป็นอันตราย อย่างไรก็ตามจุลินทรีย์ที่ใช้ในการผลิต EM (จุลินทรีย์ผลิตกรดแลคติก ยีสต์ และจุลินทรีย์สังเคราะห์แสง) ผลิตจากจุลินทรีย์ธรรมชาติ ไม่มีจุลินทรีย์ก่อโรค ไม่มีสารเคมีสังเคราะห์ และไม่ใช่การตัดต่อยีนส์ (GMOs) ซึ่งเป็นโทษต่อมนุษย์ สัตว์และพืช EM ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่ปลอดภัยซึ่งใช้กันมาก่อนในสมัยโบราณจะโดยตั้งใจหรือไม่ตั้งใจก็ตาม จุลินทรีย์ใน EM มี 3 กลุ่ม ดังต่อไปนี้</span></b>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/119848?page=0%2C5\"><img src=\"/files/u53504/261.jpg\" style=\"width: 314px; height: 110px\" border=\"0\" width=\"484\" height=\"218\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/119848?page=0%2C6\"><img src=\"/files/u53504/301.jpg\" style=\"width: 312px; height: 110px\" border=\"0\" width=\"402\" height=\"129\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<a href=\"/node/119848?page=0%2C7\"><img src=\"/files/u53504/371.jpg\" style=\"width: 316px; height: 103px\" border=\"0\" width=\"453\" height=\"121\" /></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/119848?page=0%2C1\"><img src=\"/files/u53504/39.jpg\" style=\"width: 135px; height: 111px\" border=\"0\" width=\"300\" height=\"306\" /></a>\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u53504/261.jpg\" style=\"width: 442px; height: 168px\" border=\"0\" width=\"484\" height=\"218\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u53504/16.gif\" border=\"0\" width=\"520\" height=\"20\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b>   <img src=\"/files/u53504/271.jpg\" style=\"width: 212px; height: 138px\" border=\"0\" width=\"358\" height=\"243\" />          </b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b></b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b>ที่มา <a href=\"https://lh6.googleusercontent.com/-eUY1pfmkYn0/TYCC8jDvROI/AAAAAAAAEVU/mMSnOT5_t8g/2009924_34143.jpg\">https://lh6.googleusercontent.com/-eUY1pfmkYn0/TYCC8jDvROI/AAAAAAAAEVU/mMSnOT5_t8g/2009924_34143.jpg</a></b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p><b><span style=\"color: #993300\">           กรดแลกติกสามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของจุลินทรีย์ก่อโรคบางชนิด และจุลินทรีย์อื่น ๆ ได้ เนื่องจากมี pH ที่ต่ำ เป็นที่รู้กันอย่างกว้างขวางว่ามีการนำเอาจุลินทรีย์ผลิตกรดแลคติกไปใช้ในการหมักอาหารหลายชนิด เช่น เนยแข็ง โยเกิร์ต และสามารถเก็บไว้ได้นาน ตั้งแต่หลุยส์ ปาสเตอร์ ได้ค้นพบจุลินทรีย์ผลิตกรดแลคติกในปี พ.ศ.2400 ทำให้รู้ถึงประโยชน์ของมันที่เกี่ยวกับสุขภาพและการมีอายุยืนยาว เมื่อเร็ว ๆ นี้ มีงานวิจัยที่พบว่า นอกจากมันจะอยู่ที่ลำไส้เล็กของคนแล้วมันยังเป็นตัวกระตุ้นให้เกิดภูมิต้านทาน มีคุณสมบัติในการต่อต้านการสูญเสียโปรตีนในเลือด ต่อต้านการกลายพันธ์ โคเลสเตอรอลในเลือดต่ำ และการมีความดันโลหิตต่ำ</span></b> </p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n<span style=\"color: #993300\"><a href=\"/node/119848?page=0%2C4\"><img src=\"/files/u53504/28.gif\" style=\"width: 145px; height: 115px\" border=\"0\" width=\"173\" height=\"155\" /></a></span>\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u53504/301.jpg\" style=\"width: 402px; height: 136px\" border=\"0\" width=\"402\" height=\"129\" /> \n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n<img src=\"/files/u53504/16.gif\" border=\"0\" width=\"520\" height=\"20\" /> \n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n<span style=\"color: #993300\">           <span style=\"color: #993300\"><img src=\"/files/u53504/331.jpg\" style=\"width: 234px; height: 242px\" border=\"0\" width=\"294\" height=\"349\" /></span>             </span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n<span style=\"color: #993300\"></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n<span style=\"color: #993300\"><b><span style=\"color: #993300\">ที่มา  <a href=\"http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/9/94/Jan_Verkolje_-_Antonie_van_Leeuwenhoek.jpg/515px-Jan_Verkolje_-_Antonie_van_Leeuwenhoek.jpg\">http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/9/94/Jan_Verkolje_-_Antonie_van_Leeuwenhoek.jpg/515px-Jan_Verkolje_-_Antonie_van_Leeuwenhoek.jpg</a></span></b></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\" align=\"left\">\n<span style=\"color: #993300\"><b><span style=\"color: #993300\"></span></b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #993300\"><b><span style=\"color: #993300\">             </span><span style=\"color: #190230\">เป็นที่รู้จักกันดีว่าเป็นตัวตั้งต้นในการหมัก ยีสต์เป็นจุลินทรีย์ที่ใช้ในการหมักเบียร์หรือแอลกอฮอล์ และใช้ในการทำขนมปัง ยีสต์ค้นพบโดยพ่อค้าชาวดัทช์ ชื่อ แอนโทนี แวน ลีเวนฮุค (ในปี พ.ศ.2175 -2266) ซึ่งเป็นผู้ค้นพบเป็นคนแรกในโลกเรื่องจุลินทรีย์ ยีสต์ถูกจำแนกเป็นสัตว์เซลเดียว ซึ่งแตกต่างจากเชื้อราเพราะมันจะอยู่เป็นเซลเดียวไปตลอดชีวิต ในโลกของจุลินทรีย์จะมีกลุ่มจุลินทรีย์กลุ่มเล็ก ๆ ที่มีความจำเป็นต่อชีวิตมนุษย์ ยีสต์จะมีอยู่มากในสิ่งแวดล้อมที่มีน้ำตาลมาก เช่น น้ำหวานจากเกสรดอกไม้ ตามผิวของผลไม้ ใน EM ยีสต์ผลิตจะสารชีวพันธ์ต่าง ๆ หรือสารที่จำเป็นต่อสิ่งมีชีวิต เช่น กรดอะมิโน และแป้ง</span></b></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u53504/291.jpg\" style=\"width: 250px; height: 215px\" border=\"0\" width=\"276\" height=\"241\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #190230\"><b>ที่มา <a href=\"http://www.vcharkarn.com/uploads/1/1303.jpg\">http://www.vcharkarn.com/uploads/1/1303.jpg</a></b></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #190230\"></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/119848?page=0%2C4\"><img src=\"/files/u53504/28.gif\" style=\"width: 146px; height: 128px\" border=\"0\" width=\"173\" height=\"155\" /></a>\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u53504/371.jpg\" style=\"width: 464px; height: 133px\" border=\"0\" width=\"453\" height=\"121\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u53504/16.gif\" border=\"0\" width=\"520\" height=\"20\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u53504/381.jpg\" style=\"width: 296px; height: 206px\" border=\"0\" width=\"375\" height=\"258\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #4e030c\">ที่มา <a href=\"http://thinkofliving.com/wp-content/uploads/2011/11/screen-shot-2554-11-03-at-9-41-18-pm.png\">http://thinkofliving.com/wp-content/uploads/2011/11/screen-shot-2554-11-03-at-9-41-18-pm.png</a></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #4e030c\"></span></b>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #4e030c\"></span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span></span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span>              โฟโต้ทรอปฟิคแบคทีเรีย (เป็นที่รู้จักกันดีในชื่อ จุลินทรีย์สังเคราะห์แสง) เป็นแบคทีเรียโบราณที่เกิดมาก่อนการเกิดดาวเคราะห์โลกที่มีออกซิเจนหนาแน่นอย่างเช่นในปัจจุบัน จากชื่อของมันบ่งบอกให้รู้ว่ามันใช้พลังงานจากแสงอาทิตย์ในการย่อยสลายสารอินทรีย์และอนินทรีย์ จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงมีอยู่ตามนาข้าว ทะเลสาบ และทุกหนทุกแห่งบนโลกนี้ ในทางปฏิบัติจะพบจุลินทรีย์ที่มีประสิทธิภาพนี้ตามทุ่งนาเพราะมันย่อยสลายอินทรียวัตถุได้ดี ทั้งในการบำบัดน้ำเสียมีงานวิจัยที่รายงานเกี่ยวกับประสิทธิภาพของจุลินทรีย์นี้ ส่วนที่ใช้ในการเกษตร การเลี้ยงสัตว์น้ำ และการเลี้ยงสัตว์ทั่วไป ภายใต้สภาพที่มีการผลิตไฮโดรเจนมันสามารถย่อยสลายสารต่าง ๆ ได้อย่างต่อเนื่อง</span> </b>\n</p>\n<p><span style=\"color: #4e030c\"></span></p>\n<p align=\"left\">\n<br />\n<b>             จุลินทรีย์สังเคราะห์แสงร่วมอยู่ในระบบย่อยต่าง ๆ และเป็นจุลินทรีย์หลักในวัฏจักรไนโตรเจนและวัฏจักรคาร์บอน เนื่องจากเป็นจุลินทรีย์หลักในวัฏจักรต่าง ๆ มันจึงทำงานร่วมกับจุลินทรีย์ใน EM ได้ ดังนั้นจุลินทรีย์สังเคราะห์แสงจึงเป็นจุลินทรีย์ที่สำคัญใน EM</b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/119848?page=0%2C4\"><b><img src=\"/files/u53504/28.gif\" style=\"width: 137px; height: 112px\" border=\"0\" width=\"173\" height=\"155\" /></b></a><b> </b>\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u53504/451.jpg\" border=\"0\" width=\"468\" height=\"132\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u53504/16.gif\" border=\"0\" width=\"520\" height=\"20\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u53504/401.jpg\" style=\"width: 290px; height: 204px\" border=\"0\" width=\"378\" height=\"254\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<b><span style=\"color: #333300\">ที่มา </span></b><a href=\"http://www.emro-asia.com/img/about-em/em_ball/emball01.jpg\">http://www.emro-asia.com/img/about-em/em_ball/emball01.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #333300\">            เพื่อการบำบัดน้ำเสียในแหล่งน้ำที่มีโคลนตะกอน หรือน้ำไหล หรือน้ำลึก ให้ได้ผลดีกว่าการใช้ EM ขยาย หรือจะใช้ทั้ง EM ball และ EM ขยาย ร่วมกันก็จะได้ผลดียิ่งขึ้น</span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #333300\">         ส่วนผสม ส่วนที่ 1</span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #333300\">                -    รำละเอียด 1 ส่วน</span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #333300\">                -    แกลบป่น หรือ รำหยาบ 1 ส่วน</span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #333300\">                -    ดินทราย 1 ส่วน</span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #333300\">       </span><span style=\"color: #800000\">* ใช้ โบกาฉิ แทนส่วนที่ 1 หรือใช้โคลนตะกอน แทนดินทรายได้</span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #333300\">          ส่วนที่ 2</span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #333300\">                -    EM 10 ช้อนแกง</span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #333300\">                -    กากน้ำตาล 10 ช้อนแกง</span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #333300\">                -    น้ำสะอาด 10 ลิตร</span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #333300\">      </span><span style=\"color: #800000\"> * ใช้ EM ขยาย หรือ EM หมักน้ำซาวข้าว หรือ EM5 ผสมร่วมกันหรือใช้แทน EM กับกากน้ำตาลได้</span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #993300\">วิธีทำ</span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #993300\">          ผสมส่วนที่ 1 แล้วรดด้วยส่วนที่ 2 คลุกเคล้าให้เข้ากัน  วัดความชื้นพอเหมาะ ปั้นเป็นก้อนกลม หรือดัดแปรงได้ตามต้องการ  นำไปวางไว้ในที่ร่มจนแห้งสนิท แล้วนำไปใช้</span></b> \n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/119848?page=0%2C1\"><img src=\"/files/u53504/39.jpg\" style=\"width: 170px; height: 127px\" border=\"0\" width=\"300\" height=\"306\" /></a>\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u53504/461.jpg\" style=\"width: 402px; height: 146px\" border=\"0\" width=\"447\" height=\"161\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u53504/16.gif\" border=\"0\" width=\"520\" height=\"20\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #003300\">  </span><span style=\"color: #000000\">สวัสดีค่ะ ดิฉัน นางสาว ชมัยพร เทพสาร จะมาเล่าเกี่ยวกับประสบการณ์ทางด้านจิตอาสา ใน &quot;มหาอุทกภัยในปี 2554&quot; ที่ผ่านมา ดิฉันได้ไปปั้น EM Ball ที่กรมไฟฟ้านครหลวงมาค่ะ ได้พบปะกับผู้คนมาหน้าหลายตา ซึ่งทุกๆคนมาจากที่ต่างๆ โดยที่เราเองก็ไม่รู้ว่าเค้ามาจากไหนกันบ้าง แม้แต่ชาวต่างชาติก็ยังมาร่วมกัน </span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #000000\"></span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #000000\"></span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #000000\"></span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #003300\">           </span><span style=\"color: #800000\">ในวันนั้นดิฉันไปกับเพื่อนๆทั้งหมด 5 คนค่ะ ตอนแรกที่ไปถึง ได้กลิ่นที่ตัวฉันเองไม่ค่อยจะชอบเอามากๆ คือกลิ่นมันเหม็นมากๆเลยค่ะ แต่พอ ดิฉันและเพื่อนๆเดินเข้าไปมันกลับทำให้ประทับใจเพราะคนมากันเยอะมากๆ บรรยากาศด้านในคึกคัดสุดๆเลยค่ะ ทุกๆคนมาช่วยกัน โดยที่บางคนไม่เคยที่จะรู้จักกันมาก่อนเลยด้วยซ้ำ มันจึงกลายเป็นภาพที่ประทับใจในตัวดิฉันอย่างมาก พอเข้าไปในก็มีพนักงานของกรมไฟฟ้า(คิดว่าน่าจะใช่น่ะค่ะ) ออกมาต้อนรับให้พวกเราลงชื่อพร้อมทั้งสอบถามรายละเอียดเล็กๆน้อยๆ เมื่อลงชื่อเรียบร้อยแล้ว เจ้าหน้าที่ก็จะแจกถุงมือเพื่อป้องกันหากเกิดแพ้และพาพวกเราไปหาที่นั่งตามมุมต่างๆ พอดีพวกเราไปเจออยู่มุมๆหนึ่งที่ไม่มีใครนั่ง ซึ่งเจ้าหน้าที่ก็คิดว่าไม่มีใครใช้แล้วจึงให้พวกเรานั่งตรงนี้ พอจัดแจงวางข้าวของลงตัวแล้ว เพื่อน 2 คนได้ไปเอาส่วนผสมมา ไม่นานเพื่อน 2 คนนั้นก็มาแล้วก็เริ่มปฏิบัติการปั้น EM Ball มันสนุกมากๆเลย พอล็อกแรกหมดพวกเราก็ไปหยิบส่วนผสมมาเริ่มปั้นใหม่ ซึ่งเมื่อเราเดินเข้าไปต้องบริเวณที่เจ้าหน้าที่ได้วางส่วนผสม จะเจอลานกว้างๆที่ไว้สำหรับคัด EM Ball ว่ามันพอดีไหม ซึ่งเมื่อคัดเสร็จแล้วก็จะนำไปตากที่ลานกว้างอีกมุมหนึ่ง ในวันนั้นพวกเราได้ปั้น EM Ball กันตั้งแต่ 11 โมงจนถึงเย็นๆ แล้วจึงกลับบ้าน</span></b>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<b><span style=\"color: #003300\">             </span><span style=\"color: #000080\">ในวันนั้นพวกเรากลับบ้านด้วยความสุขเพราะ พวกเราได้ไปช่วยผู้คน ถึงแม้มันจะเป็นพลังเล็กๆแต่ถ้าพลังเล็กๆหลายพลังช่วยกันมันก็จะกลายเป็นพลังที่ยิ่งใหญ่ได้เหมือนกันและถ้ามีเหตุการณ์เกิดขึ้นอีกพวกเราก็พร้อมที่จะรวมเป็นจิตอาสาอีกครั้ง</span></b>\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"right\">\n<a href=\"/node/119848?page=0%2C1\"><img src=\"/files/u53504/39.jpg\" style=\"width: 197px; height: 141px\" border=\"0\" width=\"300\" height=\"306\" /></a>\n</p>\n<p></p>\n', created = 1719299076, expire = 1719385476, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:7b55756bc6c909838f0ac7823172c594' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

คนละไม้ คนละมือ...ร่วมด้วยช่วยกัน

รูปภาพของ sss27995
  
รูปภาพของ ssspoonsak

อืม ดีจ้ะ แต่จะเพิ่มเติมอีกก็ได้นะจ้ะ

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 408 คน กำลังออนไลน์