• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:adfa20c3259829bfab916b3a75eb2c2e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\"><img height=\"106\" width=\"450\" src=\"/files/u53730/nailllllll.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 682px; height: 106px\" />    </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">      เพราะไม่เพียงแต่น้องน้ำจะเคลื่อนย้ายทุกสิ่งทุกอย่างในบ้านไปคนละทิศคนละทางแล้ว แต่ยังฝากขยะและคราบสกปรกทิ้งไว้ตามพื้น กำแพง รวมถึงเฟอร์นิเจอร์ทั้งหลายที่อยู่ในบ้าน ซึ่งเป็นบ่อเกิดของเชื้อโรคอีกด้วย ดังนั้น ภารกิจการทำความสะอาดบ้านครั้งนี้ ดูท่าจะเป็นงานที่หนักเอาการน่าดู แค่คิดก็เหนื่อยแล้ว ... แต่เพื่อน ๆ ไม่ต้องกังวลไป เพราะในวันนี้ เรามีวิธีในการทำความสะอาดบ้านอย่างครบครัน</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #2ac7d4\"><img height=\"307\" width=\"461\" src=\"/files/u53730/nail1.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 288px; height: 220px\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #2ac7d4\">ที่มา : <a href=\"http://www.thairath.co.th/media/content/2011/11/23/218686/l20/o8/420/270.jpg\">http://www.thairath.co.th/media/content/2011/11/23/218686/l20/o8/420/270.jpg</a></span><span style=\"color: #ff0000\"> </span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n <img height=\"69\" width=\"70\" src=\"/files/u53730/TT_44_png_th.png\" border=\"0\" style=\"width: 31px; height: 37px\" />  <img height=\"104\" width=\"343\" src=\"/files/u53730/tiamtao.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 291px; height: 63px\" /><img height=\"69\" width=\"70\" src=\"/files/u53730/TT_44_png_th.png\" border=\"0\" style=\"width: 31px; height: 37px\" />\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  - เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม อาทิ แว่นตาช่าง, หน้ากากกรองฝุ่น, ผ้าปิดปากปิดจมูก, ถุงมือยาง, รองเท้าบูท, ไฟฉาย และหมวกนิรภัย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  - จากนั้นแต่งกายให้พร้อมก่อนเข้าไปในตัวบ้าน สิ่งสำคัญคือห้ามประมาทและอย่าเข้าไปคนเดียว ต้องมีคนไปเป็นเพื่อน และต้องมีคนรออยู่ด้านนอก เผื่อเกิดเหตุฉุกเฉินที่ไม่คาดคิดขึ้น </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"69\" width=\"70\" src=\"/files/u53730/TT_44_png_th.png\" border=\"0\" style=\"width: 31px; height: 37px\" />  <img height=\"104\" width=\"343\" src=\"/files/u53730/2.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 296px; height: 73px\" />  <img height=\"69\" width=\"70\" src=\"/files/u53730/TT_44_png_th.png\" border=\"0\" style=\"width: 31px; height: 37px\" /><br />\n<span style=\"color: #2ac7d4\">   </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">   </span><span style=\"color: #2ac7d4\">1.ก่อนเข้าไปในตัวอาคารบ้านเรือน ให้เดินดูบริเวณรอบ ๆ บ้านก่อน โดยสำรวจพิจารณาดูโครงสร้างที่อาจจะเสียหายเป็นอันตรายก่อนตัดสินใจที่จะเข้าไป </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  2.ระวังเรื่องสัตว์มีพิษต่าง ๆ ที่อาจหนีน้ำเข้าไปอาศัยอยู่ในตัวบ้าน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  3.สังเกตดูรอยร้าว หรือการบิดตัวของโครงสร้างก่อนตัดสินใจเข้าไป </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  4.ตรวจดูที่จัดเก็บถังแก๊ส มองหาสิ่งผิดปกติที่อาจจะมีการรั่วซึม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  5.ตรวจสอบการจ่ายไฟให้แน่ใจว่า ไฟฟ้ายังไม่ได้จ่ายกระแสเข้าไปในบ้าน โดยการดูที่คัตเอาท์ว่ายังมีการสับสวิตช์ลงอยู่หรือไม่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  6.เปิดประตูให้เกิดการถ่ายเทอากาศ อย่าเหยียบเข้าบ้านทันที ให้สังเกตพื้นบ้าน ลองค่อย ๆ ใช้เท้าทิ้งน้ำหนักเพื่อทดสอบก่อน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  7.สังเกตดูเพดานว่ามีการอมน้ำ แอ่นท้องช้าง หรือมีคราบน้ำอยู่หรือไม่ เพราะเพดานอาจพังทลายลงมาได้เมื่อมีการเคลื่อนไหวให้ระมัดระวัง </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #2ac7d4\"> <img height=\"69\" width=\"70\" src=\"/files/u53730/TT_44_png_th.png\" border=\"0\" style=\"width: 31px; height: 37px\" />   <img height=\"104\" width=\"343\" src=\"/files/u53730/3.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 278px; height: 56px\" /><img height=\"69\" width=\"70\" src=\"/files/u53730/TT_44_png_th.png\" border=\"0\" style=\"width: 31px; height: 37px\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  1.การป้องกันตนเอง เช่น การใส่ถุงมือยาง และรองเท้าบูท ที่จะช่วยป้องกันการติดเชื้อโรคเชื้อรา, ป้องกันการสัมผัสสารเคมี รวมถึงป้องกันไฟดูด รวมทั้งคาดผ้าปิดจมูกและปากที่ช่วยป้องกันการหายใจเอาสปอร์ของเชื้อราและไอระเหยของสารเคมีเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  2.ในระหว่างการทำ ความสะอาดควรเปิดประตูหน้าต่างให้อากาศระบายได้มากที่สุด โดยอาจเปิดพัดลมเพดานช่วยระบายอากาศ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  3.ห้ามเปิดเครื่องปรับอากาศ เพราะเชื้อโรคต่าง ๆ จะถูกดูดเข้าไปอยู่ในระบบปรับอากาศ และจะกลายเป็นที่เพาะพันธุ์เชื้อราต่อไป ถือเป็นภัยเงียบที่เรามองไม่เห็น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  4.จากนั้นก็มาเริ่มที่ระบบไฟฟ้าของทั้งบ้าน ซึ่งจะต้องถูกปิดทันทีที่น้ำท่วมบ้าน ดังนั้น ระบบไฟฟ้าจึงเป็นสิ่งแรก ๆ ที่จะต้องจัดการทันทีที่น้ำลด โดยให้ช่างไฟฟ้ามืออาชีพมาตรวจสอบและซ่อมแซมให้หมดก่อนจึงจะสามารถกลับไปใช้ไฟฟ้าได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  5.บางครั้งจำเป็นอย่างมากที่จะต้องเดินสายไฟใหม่ทั้งหมด และสายไฟจะต้องแห้งสนิท รวมทั้งสวิตช์ไฟ, เต้าเสียบปลั๊กไฟต่าง ๆ ที่จมอยู่ใต้น้ำอาจจะมีโคลนตมและตะกอนที่มากับน้ำเข้าไปอยู่ จึงต้องมีการตรวจเช็กระบบอย่างละเอียด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  6.ระบบเครื่องปรับอากาศ หลังน้ำลดต้องเรียกช่างแอร์มืออาชีพมาตรวจเช็คระบบเครื่องปรับอากาศภายในบ้านทั้งหมด พร้อมทั้งทำความสะอาดท่อต่าง ๆ, แผ่นกรองอากาศ เปลี่ยนฉนวนกันความร้อนที่จมน้ำ ฯลฯ เมื่อช่างแก้ไขให้เสร็จเรียบร้อยแล้วให้ซีลปิดไว้ก่อนจึงจะเริ่มการทำความสะอาดบ้าน </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  7.อย่าลืมว่าก่อนจะเปิดเครื่องปรับอากาศต้องทำความสะอาดบ้านจนเสร็จเรียบร้อยพร้อมกลับเข้าไปอยู่แล้วเท่านั้น</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #2ac7d4\">   <img height=\"69\" width=\"70\" src=\"/files/u53730/TT_44_png_th.png\" border=\"0\" style=\"width: 31px; height: 37px\" /><span style=\"color: #0000ff\">  <img height=\"104\" width=\"343\" src=\"/files/u53730/4.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 222px; height: 64px\" /><img height=\"69\" width=\"70\" src=\"/files/u53730/TT_44_png_th.png\" border=\"0\" style=\"width: 31px; height: 37px\" /></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #2ac7d4\"><span style=\"color: #0000ff\"><img height=\"358\" width=\"312\" src=\"/files/u53730/896.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 270px; height: 294px\" /></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #2ac7d4\"><span style=\"color: #0000ff\">ที่มา : <a href=\"http://www.thairath.co.th/media/content/2011/11/08/215185/l20/o6/420/483.jpg\">http://www.thairath.co.th/media/content/2011/11/08/215185/l20/o6/420/483.jpg</a></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">   1.แน่นอนว่าจะมีขยะทั้งของบ้านเราเองและบ้านคนอื่น เลือกที่พักขยะหรือที่แขวนถุงขยะ เพราะสิ่งที่ลำบากที่สุดหลังน้ำลดก็คือปริมาณขยะมากกว่าคนจะมาเก็บขยะ ดังนั้นจึงต้องใช้เวลา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  2.เรียงลำดับ แยกประเภทขยะ เพราะกำลังเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ ทิ้งขยะที่จะเน่าได้ก่อน เช่น เศษอาหาร ส่วนขยะบางประเภทเก็บไว้ในบริเวณบ้านก่อนได้แล้วค่อยทยอยทิ้งทีหลัง เช่น โฟม พลาสติก เฟอร์นิเจอร์ที่พังเสียหาย ส่วนขยะอันตราย จำพวกเครื่องใช้ไฟฟ้า หลอดไฟ (ที่ยังไม่แตก) ควรคัดแยกไว้ต่างหาก แล้วหาวิธีจัดการอย่างเหมาะสมเป็นลำดับถัดไป </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #2ac7d4\"><img height=\"69\" width=\"70\" src=\"/files/u53730/TT_44_png_th.png\" border=\"0\" style=\"width: 31px; height: 37px\" /> <img height=\"104\" width=\"343\" src=\"/files/u53730/5.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 290px; height: 75px\" /><img height=\"69\" width=\"70\" src=\"/files/u53730/TT_44_png_th.png\" border=\"0\" style=\"width: 31px; height: 37px\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  1. ใช้มีดปลายแหลมกรีดตามรอยซิลิโคนที่ยิง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  2. เมื่อเอากำแพงออกจะมีรอยเลอะและคราบของซิลิโคนติดอยู่ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  3. ใช้มีดปลายแหลมลอกซิลิโคนออก (ถ้าไม่มีเครื่องมือข้างต้น อาจจะใช้คัตเตอร์ หรือมีดแทนได้) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  4. ใช้มีดปลายแหลมขูดเศษของซิลิโคนออกอีกรอบ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  5. ทำความสะอาดลอกซิลิโคนออกจากกำแพงกั้นน้ำสังกะสีหรือแผ่นโพลีคาร์บอเนตด้วยความปราณีตเผื่อได้ไว้ใช้งานต่อ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  6. เก็บกวาดอีกครั้งก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อย </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #2ac7d4\"> <img height=\"69\" width=\"70\" src=\"/files/u53730/TT_44_png_th.png\" border=\"0\" style=\"width: 31px; height: 37px\" />  <img height=\"104\" width=\"343\" src=\"/files/u53730/6.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 252px; height: 70px\" />  <span style=\"color: #0000ff\"><img height=\"69\" width=\"70\" src=\"/files/u53730/TT_44_png_th.png\" border=\"0\" style=\"width: 31px; height: 37px\" /></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\"><span style=\"color: #0000ff\">                  </span></span></p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"358\" width=\"469\" src=\"/files/u53730/nail5.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 266px; height: 215px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.shop2thai.com/shop/ccservicespro/images/product/e1872bc3a5a74a34d511e9bd233bdd26.jpg\">http://www.shop2thai.com/shop/ccservicespro/images/product/e1872bc3a5a74a34d511e9bd233bdd26.jpg</a>\n</div>\n<p>    </p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"349\" width=\"400\" src=\"/files/u53730/nail4.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 318px; height: 220px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.banidea.com/wp-content/uploads/2011/11/Cleanup-after-flood.jpg\">http://www.banidea.com/wp-content/uploads/2011/11/Cleanup-after-flood.jpg</a>\n</div>\n<p>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span><strong><span style=\"color: #2ac7d4\">  1. พื้น </span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">ด้านนอกอาคาร ทำความสะอาดโดยการฉีดน้ำล้าง การขัด และใช้น้ำยาทำความสะอาดต่างๆ สามารถ ล้างแบบเปียกได้แล้วทิ้งให้แห้ง สามารถใช้น้ำยาฆ่าเชื้อโรครวมด้วยเพื่อความสะอาด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">ด้านในอาคาร เช็ดทำความสะอาด หากคราบฝังแน่น ขัดด้วยแปรงหรือแผ่นขัด และใช้น้ำยาทำความสะอาดต่าง ๆ สามารถใช้น้ำยาฆ่าเชื้อโรครวมด้วยเพื่อความสะอาดเพื่อทำความสะอาด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #0000ff\"><strong>*หมายเหตุ หากพื้นที่กว้างสามารถใช้เครื่องฉีดน้ำแรงดันสูง หรือเครื่องขัดพื้น ช่วยทำความสะอาดจะลดเวลาทำงานได้มาก</strong> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  - พื้นไม้ สะสมความชื้นสูง ควรใช้น้ำยาทำความสะอาดและน้ำยาฆ่าเชื้อโรคทำความสะอาด ล้าง หรือเช็ดถู </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  - พื้นพรม หากสะสมความชื้นสูง แนะนำให้เปลี่ยนใหม่จะดีกว่า เพื่อความสุขภาพของผู้อยู่อาศัย หากไม่ชื้นมากให้ใช้เครื่องซักพรมทำความสะอาด หรือซักล้างด้วยแปรงขัดล้างทำความสะอาด แล้วใช้เครื่องดูดฝุ่นดูดน้ำเพื่อดูดน้ำกลับ ระวังพรมบางประเภทไม่ทนต่อน้ำ กาวหรือขนพรมอาจหลุดได้ </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #2ac7d4\"><img height=\"319\" width=\"463\" src=\"/files/u53730/nail3.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 278px; height: 199px\" /></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #2ac7d4\">ที่มา : <a href=\"http://www.shopat7.com/images/catalog_pro_1320051058/132028498.jpg\">http://www.shopat7.com/images/catalog_pro_1320051058/132028498.jpg</a></span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #2ac7d4\">  2. กำแพง </span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">ด้านนอกอาคาร ทำความสะอาดโดยการฉีดน้ำล้าง การขัด และใช้น้ำยาทำความสะอาดต่างๆ สามารถ ล้างแบบเปียกได้แล้วทิ้งให้แห้ง สามารถใช้น้ำยาฆ่าเชื้อโรครวมด้วยเพื่อความสะอาด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">ด้านในอาคาร เช็ดทำความสะอาด หากคราบฝังแน่น ขัดด้วยแปรงหรือแผ่นขัด และใช้น้ำยาทำความสะอาดต่าง ๆ สามารถใช้น้ำยาฆ่าเชื้อโรครวมด้วยเพื่อความสะอาดเพื่อทำความสะอาด แต่สีผนังอาจหลุด จะต้องแต่งใหม่ </span>\n</p>\n<p>\n<strong><span style=\"color: #2ac7d4\"><span style=\"color: #0000ff\">  วอลเปเปอร์ เช็ดทำความสะอาด และฆ่าเชื้อโรค </span></span></strong>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\"> <strong> 3. เฟอร์นิเจอร์</strong> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">ตู้บิลอิน เช็ดถูทำความสะอาด และฆ่าเชื้อโรค เปิดหน้าบานระบายความชื้น </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">เฟอร์นิเจอร์ลอยตัว ฉีดล้างทำความสะอาด นำตากแดด หากเป็น เฟอร์นิเจอร์ผ้าจะเปียกและสะสมความชื้นสูง แนะนำให้เปลี่ยนใหม่จะดีกว่า เพื่อความสุขภาพของผู้อยู่อาศัย หากไม่ชื้นมากให้ซักล้างด้วยแปรงขัดล้างทำความสะอาด แล้วใช้เครื่องดูดฝุ่นดูดน้ำเพื่อดูดน้ำกลับ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  <strong>4. เครื่องใช้ต่าง ๆ </strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">เครื่องครัว แช่ทำความสะอาดในน้ำคลอรีนผสม หรือ แอลกอฮอล์ เพื่อฆ่าเชื้อโรค แล้วนำไปแช่ในน้ำเดือดต้มทำความสะอาดอีกครั้ง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">เครื่องเงินและโลหะ แช่ในน้ำเดือด เพื่อเป็นการต้มทำความสะอาด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\"><span style=\"color: #0000ff\"> <strong><em>หลังจากตรวจเช็กทุกอย่างจนแน่ใจแล้ว ก็มาถึงวิธีการทำความสะอาดขนานใหญ่ โดยเริ่มตามโปรแกรมดังนี้</em></strong> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  1. เริ่มด้วยการขนย้ายสิ่งของต่าง ๆ ภายในบ้านออกมาให้ได้มากที่สุด เพื่อสะดวกในการจัดการกับโคลนตมที่มากับน้ำ ให้ใช้พลั่วตักดินโคลนออกจากพื้นบ้านให้ได้มากที่สุด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  2. ใช้เครื่องฉีดน้ำแรงดันสูง (ถ้ามี) หรือสายยางฉีดน้ำเพื่อชะล้างโคลนออกจากพื้นผิว อุปกรณ์อย่างหนึ่งที่จะช่วยผ่อนแรงได้มากคือ ไม้ปาดน้ำ หากไม่มีและพื้นที่ไม่ใหญ่มากนัก สามารถใช้ผ้าขนหนูทำเป็นผ้าลากน้ำได้ โดยเน้นการกำจัดดินโคลนออกไปให้หมด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  3. เรื่องของพื้น หากพื้นบ้านของท่านมีการใช้วัสดุต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ไวนิล, เสื่อน้ำมัน, พรม, ปาร์เกต์ ฯลฯ มีความจำเป็นที่จะต้องรื้อวัสดุปูพื้นเหล่านั้นออกเพื่อให้พื้นด้านล่างแห้ง ซึ่งกว่าจะแห้งสนิทอาจใช้ระยะเวลานานพอสมควร </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  4. การทำความสะอาดพื้นทุกชนิด ต้องพิจารณาดูตามความเหมาะสมของพื้น โดยทั่วไป ๆ สามารถใช้น้ำผสมคลอรีนในอัตราส่วน 0.1% (1 CC ต่อน้ำ 1,000 CC) ฉีดพ่นให้ทั่วบริเวณก่อนแล้วจึงขัดถูพื้นด้วยน้ำยาล้างจานหรือผงซักฟอก ขัดถูให้ทั่วบริเวณแล้วจึงราดด้วยน้ำร้อนเดือด ๆ หรือใช้ผลิตภัณฑ์น้ำยาเคมีทำความสะอาดที่สามารถฆ่าเชื้อต่าง ๆ ได้ ซึ่งต้องอ่านฉลากวิธีใช้ให้ละเอียดและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  5. หากเป็นไปได้ควรใช้ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อกำจัดกลิ่นที่เป็นสารชีวภาพเอนไซม์ ซึ่งมีประสิทธิภาพในการกำจัดเชื้อ กำจัดกลิ่น กำจัดคราบไขมันได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\"> - ข้อดี คือ สารชีวภาพเอนไซม์นั้นจะยังคงมีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อที่จะเกิดขึ้นใหม่จากความชื้นต่อไปได้อีกนานประมาณ 3-6 เดือน ตราบที่พื้นยังมีความชื้นอยู่ และที่สำคัญสารชีวภาพเอนไซม์นั้นไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  6. สำหรับพื้นบ้านที่ปูพรม ถ้าพื้นบ้านที่ปูพรมจมอยู่ใต้น้ำท่วมหรือน้ำเสีย ควรจะตัดใจกำจัดทิ้งไปเพื่อความปลอดภัยของสุขภาพ เพราะพรมเป็นแหล่งเพาะเชื้อราอย่างดี </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\"> - การทำความสะอาดพรมด้วยตัวเองเป็นเรื่องยาก ต้องใช้มืออาชีพที่เชื่อถือได้ว่าจะใช้น้ำยาซักพรมที่ฆ่าเชื้อกำจัดกลิ่น และใช้เครื่องมือซักพรมชนิดพิเศษที่สามารถทำความสะอาดได้ล้ำลึก แต่ค่าใช้จ่ายในการทำความสะอาดค่อนข้างสูง ควรพิจารณาให้ดี </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"69\" width=\"70\" src=\"/files/u53730/TT_44_png_th.png\" border=\"0\" style=\"width: 31px; height: 37px\" /><img height=\"104\" width=\"343\" src=\"/files/u53730/7.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 225px; height: 61px\" /><img height=\"69\" width=\"70\" src=\"/files/u53730/TT_44_png_th.png\" border=\"0\" style=\"width: 31px; height: 37px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\"><strong><em><span style=\"color: #0000ff\">ข้อแนะนำ </span></em></strong></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  1. การป้องกันร่างกายให้ถูกต้อง เช่น สวมถุงมือยาง (เช่น ถุงมือล้างจานที่แม่บ้านใช้) สวมรองเท้าบูทยาง สวมหน้ากาก (mask) สวมเสื้อผ้ามิดชิด เพื่อป้องกันไม่ให้ความสกปรกมาถูกตัว ถูกผิวหนัง/แผล หรือน้ำกระเด็นเข้าปาก/น้ำเข้าตา ต้องล้างมือล้างเท้าด้วยน้ำสะอาดและสบู่บ่อย ๆ ต้องคำนึงว่ากำลังทำงานอยู่กับของสกปรก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  2. ใช้น้ำยาที่ใช้อยู่ตามปกติ ทำความสะอาดคราบต่าง ๆ (คราบดิน/โคลน คราบน้ำ) ก่อนในขั้นแรก เพื่อเอาความสกปรกออกให้ได้มากที่สุด เช่น น้ำยาล้างบ้าน ล้างพื้นห้องน้ำ ผงซักฟอก เป็นต้น แต่ต้องปฏิบัติตามฉลากของนำยาเหล่านั้นให้ถูกต้อง เช่น อะไรใช้กับไม้ กับกระเบื้อง กับ โลหะ (= ต้องอ่านฉลาก) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  3. ควรทำในที่ที่อากาศถ่ายเทดี (ห้ามเปิดพัดลม หรือเครื่องปรับอากาศ เพราะจะทำให้เชื้อราฟุ้งกระจายในอากาศ) </span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #2ac7d4\"><img height=\"69\" width=\"70\" src=\"/files/u53730/TT_44_png_th.png\" border=\"0\" style=\"width: 31px; height: 37px\" /> <img height=\"104\" width=\"343\" src=\"/files/u53730/8.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 249px; height: 71px\" /><img height=\"69\" width=\"70\" src=\"/files/u53730/TT_44_png_th.png\" border=\"0\" style=\"width: 31px; height: 37px\" /></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  1. เมื่อเกิดเชื้อราขึ้นกับวัสดุที่เป็นพื้นแข็ง ให้ใช้น้ำสบู่ แอลกอฮอล์ หรือน้ำยาขัดห้องน้ำล้าง และขัดให้ด้วยแปรงชนิดแข็งจนเชื้อราออกจนหมดจด จากนั้นใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดหลาย ๆ รอบจนกว่าจะแน่ใจว่าสะอาด </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  2. วัสดุที่เป็นเนื้ออ่อน เช่น หนังสือ กระดาษมัน พลาสติก กล่อง ให้ใช้สำลีชุบฟอร์มาลีนเช็ด แล้วตามด้วยผ้าชุบน้ำสะอาด จากนั้นนำไปวางไว้ในที่ที่อากาศถ่ายเท และมีแสงแดดส่องถึงเล็กน้อย แล้วปล่อยให้แห้ง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  3. พรม ฝ้า หรือที่นอน หากมีเชื้อราขึ้น ให้โยนทิ้งจะปลอดภัยที่สุด เพราะวัสดุที่มีรูอย่างพรม ฝ้า และที่นอนนี้ เป็นวัสดุที่ล้างเชื้อราออกได้ยากมาก และแทบเป็นไปไม่ได้เลยที่จะสามารถล้างออกได้หมดจด 100% ซึ่งถ้าหากยังดันทุรังใช้ต่อไป ความชื้นในห้องก็อาจจะทำให้เชื้อราลุกลาม ฟักตัวได้กว้างขึ้น ทำให้เกิดโรคและเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจของผู้อยู่อาศัยไม่รู้ตัว ซึ่งแน่นอนว่ามันไม่คุ้มกันเลยล่ะ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  4. อย่าทาสีหรือแลคเกอร์ทับในบริเวณที่เกิดเชื้อรา ให้ล้างออกให้สะอาดหมดจดก่อน จากนั้นค่อยเริ่มทาสีหรือแลคเกอร์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  5. กรณีที่เชื้อราผุดให้เห็นในข้าวของเครื่องใช้ประเภทเครื่องหนัง ให้ใช้น้ำส้มสายชูเช็ดหลาย ๆ ครั้ง จนแน่ใจว่าสะอาด จากนั้นเช็ดครั้งสุดท้ายด้วยน้ำสะอาด น้ำส้มสายชูจะช่วยกำจัดเชื้อราได้เป็นอย่างดี </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  6. เฟอร์นิเจอร์ หรือของใช้ที่เป็นไม้เนื้ออ่อน โดยปกติวัสดุเหล่านี้จะเสี่ยงต่อการขึ้นราเมื่อมีความชื้นอยู่แล้ว ซึ่งมันจะไม่เป็นอะไรมากนักหากนำมาล้างทำความสะอาดภายใน 24-48 ชั่วโมงที่พบเชื้อ หรือเริ่มสังเกตเป็นดอกเป็นดวงขึ้น แต่ในกรณีที่น้ำท่วมแล้วปล่อยบ้านไว้นานเป็นเดือน ๆ ขอแนะนำให้ทิ้งข้าวของเครื่องใช้ที่ทำด้วยไม้เนื้ออ่อนเหล่านั้นไปอย่างไม่ต้องเสียดาย เพราะอาจจะฟักตัวเป็นเชื้อราที่อันตรายมากขึ้นได้ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  7. ย้ายเฟอร์นิเจอร์ หรือเครื่องใช้ที่มีราขึ้น (และตอนนี้ได้ทำความสะอาดแล้ว) ไปอยู่ในที่ที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก หรือที่แสงแดดส่องถึงสักระยะหนึ่ง คือประมาณ 1-2 สัปดาห์ แล้วหมั่นคอยตรวจสอบว่า หลังจากทำความสะอาดแล้วยังมีเชื้อราขึ้นอยู่อีกหรือไม่ หากไม่มีก็แสดงว่าสามารถแน่ใจแล้วว่าเราได้ทำความสะอาดเชื้อราออกไปได้อย่างหมดจดแล้วจริง ๆ แต่หากยังพบร่องรอยของเชื้อรา ขอให้นำมาทำความสะอาดใหม่ เพราะมันจะลามได้ง่ายมากถ้าหากวันหนึ่งอากาศชื้นอีกครั้ง </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  8. วอลเปเปอร์ ใช้กรดซาลิไซลิด ผสมกับแอลกอฮอล์ในอัตราส่วน 1:5 จากนั้นนำผ้ามาชุบไปเช็ดวอลเปเปอร์ซ้ำ ๆ ประมาณ 2 รอบ แต่ถ้าหากว่ามีเชื้อราอยู่มาก แนะนำให้รื้อทิ้งแล้วเปลี่ยนวอลเปเปอร์ใหม่จะดีกว่า </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  9. เสื้อผ้า ผ้าม่าน และผ้าห่ม หากพบเชื้อรา สามารถฆ่าเชื้อเบื้องต้นได้โดยใช้น้ำร้อน จากนั้นขยี้แล้วซักให้สะอาดหลาย ๆ ครั้ง และตากในที่ที่มีแสงแดดเท่านั้น เพื่อเป็นการฆ่าเชื้ออีกที </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\">  10. งดกิจกรรมที่จะก่อให้เกิดความชื้นภายในบ้าน หากตัวบ้านเพิ่งมีราขึ้นและได้รับการทำความสะอาดไปใหม่ ๆ ไม่ควรต้มน้ำ ซักผ้า ตากผ้า เปิดเครื่องปรับอากาศเย็นจัด แต่ควรเปิดให้อากาศภายนอกได้ระบายเข้ามาบ้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวันแดดจัด แม้ว่าจะทำให้คุณร้อนอบอ้าวไปบ้าง แต่แสงแดดจะช่วยฆ่าเชื้อราได้ดีเลยทีเดียว </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #2ac7d4\"></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #2ac7d4\"><iframe width=\"420\" frameBorder=\"0\" src=\"http://www.youtube.com/embed/c1NYJdQIfmo\" height=\"315\"></iframe></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1727550445, expire = 1727636845, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:adfa20c3259829bfab916b3a75eb2c2e' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:d05fdbe88d4bec04e967775eccaadc2f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"font-family: Tahoma, Arial, Helvetica, sans-serif; font-size: 12px; background-color: #d7e7ea; margin-top: 0px; margin-right: auto; margin-bottom: 0px; margin-left: auto; background-image: url(\'/sites/all/themes/tgv11/images/Page-BgTexture.jpg\'); background-attachment: scroll; font-style: normal; font-weight: normal; color: #000000; background-position: 0% 0%; background-repeat: repeat repeat; padding: 0px\">ขอบคุณที่นำความรู้และประสบการณ์มาเล่าสู่กันฟังนะจ้ะ</div>\n', created = 1727550445, expire = 1727636845, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:d05fdbe88d4bec04e967775eccaadc2f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:642fcce949de9eaef19e86bacf72a256' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>เยี่ยมเยี่ยมเยี่ยม &gt;&lt; !!!! ความรู้เพียบ</p>\n', created = 1727550445, expire = 1727636845, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:642fcce949de9eaef19e86bacf72a256' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:6b91e220102289967163a9e4e8672718' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nว้าวๆๆๆ *-*\n</p>\n', created = 1727550445, expire = 1727636845, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:6b91e220102289967163a9e4e8672718' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a8a2e6feadc39a0bc83c088718f83db2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>สวยมากเลยจ้า ประโยชน์ความรู้เพียบ :D</p>\n', created = 1727550445, expire = 1727636845, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a8a2e6feadc39a0bc83c088718f83db2' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:790afeabfccfb90f27542733bcfacbcf' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>เนื้อหามีประโยชน์ มากๆเลยค่ะ<br />บล็อคก็น่ารัก</p>\n', created = 1727550445, expire = 1727636845, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:790afeabfccfb90f27542733bcfacbcf' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:c910df43a80898243862a061a55d3af8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nบล็อกน่ารักมากเลย มีวิดีโอด้วย เจ๋งสุดยอด\n</p>\n', created = 1727550445, expire = 1727636845, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:c910df43a80898243862a061a55d3af8' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วิธีทำความสะอาดบ้านหลังน้ำลด

รูปภาพของ sss28177

   

      เพราะไม่เพียงแต่น้องน้ำจะเคลื่อนย้ายทุกสิ่งทุกอย่างในบ้านไปคนละทิศคนละทางแล้ว แต่ยังฝากขยะและคราบสกปรกทิ้งไว้ตามพื้น กำแพง รวมถึงเฟอร์นิเจอร์ทั้งหลายที่อยู่ในบ้าน ซึ่งเป็นบ่อเกิดของเชื้อโรคอีกด้วย ดังนั้น ภารกิจการทำความสะอาดบ้านครั้งนี้ ดูท่าจะเป็นงานที่หนักเอาการน่าดู แค่คิดก็เหนื่อยแล้ว ... แต่เพื่อน ๆ ไม่ต้องกังวลไป เพราะในวันนี้ เรามีวิธีในการทำความสะอาดบ้านอย่างครบครัน

ที่มา : http://www.thairath.co.th/media/content/2011/11/23/218686/l20/o8/420/270.jpg

  

  - เตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม อาทิ แว่นตาช่าง, หน้ากากกรองฝุ่น, ผ้าปิดปากปิดจมูก, ถุงมือยาง, รองเท้าบูท, ไฟฉาย และหมวกนิรภัย

  - จากนั้นแต่งกายให้พร้อมก่อนเข้าไปในตัวบ้าน สิ่งสำคัญคือห้ามประมาทและอย่าเข้าไปคนเดียว ต้องมีคนไปเป็นเพื่อน และต้องมีคนรออยู่ด้านนอก เผื่อเกิดเหตุฉุกเฉินที่ไม่คาดคิดขึ้น

   
   

   1.ก่อนเข้าไปในตัวอาคารบ้านเรือน ให้เดินดูบริเวณรอบ ๆ บ้านก่อน โดยสำรวจพิจารณาดูโครงสร้างที่อาจจะเสียหายเป็นอันตรายก่อนตัดสินใจที่จะเข้าไป

  2.ระวังเรื่องสัตว์มีพิษต่าง ๆ ที่อาจหนีน้ำเข้าไปอาศัยอยู่ในตัวบ้าน

  3.สังเกตดูรอยร้าว หรือการบิดตัวของโครงสร้างก่อนตัดสินใจเข้าไป

  4.ตรวจดูที่จัดเก็บถังแก๊ส มองหาสิ่งผิดปกติที่อาจจะมีการรั่วซึม

  5.ตรวจสอบการจ่ายไฟให้แน่ใจว่า ไฟฟ้ายังไม่ได้จ่ายกระแสเข้าไปในบ้าน โดยการดูที่คัตเอาท์ว่ายังมีการสับสวิตช์ลงอยู่หรือไม่

  6.เปิดประตูให้เกิดการถ่ายเทอากาศ อย่าเหยียบเข้าบ้านทันที ให้สังเกตพื้นบ้าน ลองค่อย ๆ ใช้เท้าทิ้งน้ำหนักเพื่อทดสอบก่อน

  7.สังเกตดูเพดานว่ามีการอมน้ำ แอ่นท้องช้าง หรือมีคราบน้ำอยู่หรือไม่ เพราะเพดานอาจพังทลายลงมาได้เมื่อมีการเคลื่อนไหวให้ระมัดระวัง

    

  1.การป้องกันตนเอง เช่น การใส่ถุงมือยาง และรองเท้าบูท ที่จะช่วยป้องกันการติดเชื้อโรคเชื้อรา, ป้องกันการสัมผัสสารเคมี รวมถึงป้องกันไฟดูด รวมทั้งคาดผ้าปิดจมูกและปากที่ช่วยป้องกันการหายใจเอาสปอร์ของเชื้อราและไอระเหยของสารเคมีเข้าสู่ระบบทางเดินหายใจ

  2.ในระหว่างการทำ ความสะอาดควรเปิดประตูหน้าต่างให้อากาศระบายได้มากที่สุด โดยอาจเปิดพัดลมเพดานช่วยระบายอากาศ

  3.ห้ามเปิดเครื่องปรับอากาศ เพราะเชื้อโรคต่าง ๆ จะถูกดูดเข้าไปอยู่ในระบบปรับอากาศ และจะกลายเป็นที่เพาะพันธุ์เชื้อราต่อไป ถือเป็นภัยเงียบที่เรามองไม่เห็น

  4.จากนั้นก็มาเริ่มที่ระบบไฟฟ้าของทั้งบ้าน ซึ่งจะต้องถูกปิดทันทีที่น้ำท่วมบ้าน ดังนั้น ระบบไฟฟ้าจึงเป็นสิ่งแรก ๆ ที่จะต้องจัดการทันทีที่น้ำลด โดยให้ช่างไฟฟ้ามืออาชีพมาตรวจสอบและซ่อมแซมให้หมดก่อนจึงจะสามารถกลับไปใช้ไฟฟ้าได้

  5.บางครั้งจำเป็นอย่างมากที่จะต้องเดินสายไฟใหม่ทั้งหมด และสายไฟจะต้องแห้งสนิท รวมทั้งสวิตช์ไฟ, เต้าเสียบปลั๊กไฟต่าง ๆ ที่จมอยู่ใต้น้ำอาจจะมีโคลนตมและตะกอนที่มากับน้ำเข้าไปอยู่ จึงต้องมีการตรวจเช็กระบบอย่างละเอียด

  6.ระบบเครื่องปรับอากาศ หลังน้ำลดต้องเรียกช่างแอร์มืออาชีพมาตรวจเช็คระบบเครื่องปรับอากาศภายในบ้านทั้งหมด พร้อมทั้งทำความสะอาดท่อต่าง ๆ, แผ่นกรองอากาศ เปลี่ยนฉนวนกันความร้อนที่จมน้ำ ฯลฯ เมื่อช่างแก้ไขให้เสร็จเรียบร้อยแล้วให้ซีลปิดไว้ก่อนจึงจะเริ่มการทำความสะอาดบ้าน

  7.อย่าลืมว่าก่อนจะเปิดเครื่องปรับอากาศต้องทำความสะอาดบ้านจนเสร็จเรียบร้อยพร้อมกลับเข้าไปอยู่แล้วเท่านั้น

     

ที่มา : http://www.thairath.co.th/media/content/2011/11/08/215185/l20/o6/420/483.jpg

   1.แน่นอนว่าจะมีขยะทั้งของบ้านเราเองและบ้านคนอื่น เลือกที่พักขยะหรือที่แขวนถุงขยะ เพราะสิ่งที่ลำบากที่สุดหลังน้ำลดก็คือปริมาณขยะมากกว่าคนจะมาเก็บขยะ ดังนั้นจึงต้องใช้เวลา

  2.เรียงลำดับ แยกประเภทขยะ เพราะกำลังเจ้าหน้าที่ไม่เพียงพอ ทิ้งขยะที่จะเน่าได้ก่อน เช่น เศษอาหาร ส่วนขยะบางประเภทเก็บไว้ในบริเวณบ้านก่อนได้แล้วค่อยทยอยทิ้งทีหลัง เช่น โฟม พลาสติก เฟอร์นิเจอร์ที่พังเสียหาย ส่วนขยะอันตราย จำพวกเครื่องใช้ไฟฟ้า หลอดไฟ (ที่ยังไม่แตก) ควรคัดแยกไว้ต่างหาก แล้วหาวิธีจัดการอย่างเหมาะสมเป็นลำดับถัดไป

 

  1. ใช้มีดปลายแหลมกรีดตามรอยซิลิโคนที่ยิง

  2. เมื่อเอากำแพงออกจะมีรอยเลอะและคราบของซิลิโคนติดอยู่

  3. ใช้มีดปลายแหลมลอกซิลิโคนออก (ถ้าไม่มีเครื่องมือข้างต้น อาจจะใช้คัตเตอร์ หรือมีดแทนได้)

  4. ใช้มีดปลายแหลมขูดเศษของซิลิโคนออกอีกรอบ

  5. ทำความสะอาดลอกซิลิโคนออกจากกำแพงกั้นน้ำสังกะสีหรือแผ่นโพลีคาร์บอเนตด้วยความปราณีตเผื่อได้ไว้ใช้งานต่อ

  6. เก็บกวาดอีกครั้งก็เป็นอันเสร็จเรียบร้อย

     

                 

   

  1. พื้น

ด้านนอกอาคาร ทำความสะอาดโดยการฉีดน้ำล้าง การขัด และใช้น้ำยาทำความสะอาดต่างๆ สามารถ ล้างแบบเปียกได้แล้วทิ้งให้แห้ง สามารถใช้น้ำยาฆ่าเชื้อโรครวมด้วยเพื่อความสะอาด

ด้านในอาคาร เช็ดทำความสะอาด หากคราบฝังแน่น ขัดด้วยแปรงหรือแผ่นขัด และใช้น้ำยาทำความสะอาดต่าง ๆ สามารถใช้น้ำยาฆ่าเชื้อโรครวมด้วยเพื่อความสะอาดเพื่อทำความสะอาด

*หมายเหตุ หากพื้นที่กว้างสามารถใช้เครื่องฉีดน้ำแรงดันสูง หรือเครื่องขัดพื้น ช่วยทำความสะอาดจะลดเวลาทำงานได้มาก

  - พื้นไม้ สะสมความชื้นสูง ควรใช้น้ำยาทำความสะอาดและน้ำยาฆ่าเชื้อโรคทำความสะอาด ล้าง หรือเช็ดถู

  - พื้นพรม หากสะสมความชื้นสูง แนะนำให้เปลี่ยนใหม่จะดีกว่า เพื่อความสุขภาพของผู้อยู่อาศัย หากไม่ชื้นมากให้ใช้เครื่องซักพรมทำความสะอาด หรือซักล้างด้วยแปรงขัดล้างทำความสะอาด แล้วใช้เครื่องดูดฝุ่นดูดน้ำเพื่อดูดน้ำกลับ ระวังพรมบางประเภทไม่ทนต่อน้ำ กาวหรือขนพรมอาจหลุดได้

ที่มา : http://www.shopat7.com/images/catalog_pro_1320051058/132028498.jpg

  2. กำแพง

ด้านนอกอาคาร ทำความสะอาดโดยการฉีดน้ำล้าง การขัด และใช้น้ำยาทำความสะอาดต่างๆ สามารถ ล้างแบบเปียกได้แล้วทิ้งให้แห้ง สามารถใช้น้ำยาฆ่าเชื้อโรครวมด้วยเพื่อความสะอาด

ด้านในอาคาร เช็ดทำความสะอาด หากคราบฝังแน่น ขัดด้วยแปรงหรือแผ่นขัด และใช้น้ำยาทำความสะอาดต่าง ๆ สามารถใช้น้ำยาฆ่าเชื้อโรครวมด้วยเพื่อความสะอาดเพื่อทำความสะอาด แต่สีผนังอาจหลุด จะต้องแต่งใหม่

  วอลเปเปอร์ เช็ดทำความสะอาด และฆ่าเชื้อโรค

  3. เฟอร์นิเจอร์

ตู้บิลอิน เช็ดถูทำความสะอาด และฆ่าเชื้อโรค เปิดหน้าบานระบายความชื้น

เฟอร์นิเจอร์ลอยตัว ฉีดล้างทำความสะอาด นำตากแดด หากเป็น เฟอร์นิเจอร์ผ้าจะเปียกและสะสมความชื้นสูง แนะนำให้เปลี่ยนใหม่จะดีกว่า เพื่อความสุขภาพของผู้อยู่อาศัย หากไม่ชื้นมากให้ซักล้างด้วยแปรงขัดล้างทำความสะอาด แล้วใช้เครื่องดูดฝุ่นดูดน้ำเพื่อดูดน้ำกลับ

  4. เครื่องใช้ต่าง ๆ

เครื่องครัว แช่ทำความสะอาดในน้ำคลอรีนผสม หรือ แอลกอฮอล์ เพื่อฆ่าเชื้อโรค แล้วนำไปแช่ในน้ำเดือดต้มทำความสะอาดอีกครั้ง

เครื่องเงินและโลหะ แช่ในน้ำเดือด เพื่อเป็นการต้มทำความสะอาด

 หลังจากตรวจเช็กทุกอย่างจนแน่ใจแล้ว ก็มาถึงวิธีการทำความสะอาดขนานใหญ่ โดยเริ่มตามโปรแกรมดังนี้

  1. เริ่มด้วยการขนย้ายสิ่งของต่าง ๆ ภายในบ้านออกมาให้ได้มากที่สุด เพื่อสะดวกในการจัดการกับโคลนตมที่มากับน้ำ ให้ใช้พลั่วตักดินโคลนออกจากพื้นบ้านให้ได้มากที่สุด

  2. ใช้เครื่องฉีดน้ำแรงดันสูง (ถ้ามี) หรือสายยางฉีดน้ำเพื่อชะล้างโคลนออกจากพื้นผิว อุปกรณ์อย่างหนึ่งที่จะช่วยผ่อนแรงได้มากคือ ไม้ปาดน้ำ หากไม่มีและพื้นที่ไม่ใหญ่มากนัก สามารถใช้ผ้าขนหนูทำเป็นผ้าลากน้ำได้ โดยเน้นการกำจัดดินโคลนออกไปให้หมด

  3. เรื่องของพื้น หากพื้นบ้านของท่านมีการใช้วัสดุต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ไวนิล, เสื่อน้ำมัน, พรม, ปาร์เกต์ ฯลฯ มีความจำเป็นที่จะต้องรื้อวัสดุปูพื้นเหล่านั้นออกเพื่อให้พื้นด้านล่างแห้ง ซึ่งกว่าจะแห้งสนิทอาจใช้ระยะเวลานานพอสมควร

  4. การทำความสะอาดพื้นทุกชนิด ต้องพิจารณาดูตามความเหมาะสมของพื้น โดยทั่วไป ๆ สามารถใช้น้ำผสมคลอรีนในอัตราส่วน 0.1% (1 CC ต่อน้ำ 1,000 CC) ฉีดพ่นให้ทั่วบริเวณก่อนแล้วจึงขัดถูพื้นด้วยน้ำยาล้างจานหรือผงซักฟอก ขัดถูให้ทั่วบริเวณแล้วจึงราดด้วยน้ำร้อนเดือด ๆ หรือใช้ผลิตภัณฑ์น้ำยาเคมีทำความสะอาดที่สามารถฆ่าเชื้อต่าง ๆ ได้ ซึ่งต้องอ่านฉลากวิธีใช้ให้ละเอียดและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด

  5. หากเป็นไปได้ควรใช้ผลิตภัณฑ์ฆ่าเชื้อกำจัดกลิ่นที่เป็นสารชีวภาพเอนไซม์ ซึ่งมีประสิทธิภาพในการกำจัดเชื้อ กำจัดกลิ่น กำจัดคราบไขมันได้

 - ข้อดี คือ สารชีวภาพเอนไซม์นั้นจะยังคงมีประสิทธิภาพในการฆ่าเชื้อที่จะเกิดขึ้นใหม่จากความชื้นต่อไปได้อีกนานประมาณ 3-6 เดือน ตราบที่พื้นยังมีความชื้นอยู่ และที่สำคัญสารชีวภาพเอนไซม์นั้นไม่เป็นอันตรายต่อมนุษย์และสิ่งแวดล้อม

  6. สำหรับพื้นบ้านที่ปูพรม ถ้าพื้นบ้านที่ปูพรมจมอยู่ใต้น้ำท่วมหรือน้ำเสีย ควรจะตัดใจกำจัดทิ้งไปเพื่อความปลอดภัยของสุขภาพ เพราะพรมเป็นแหล่งเพาะเชื้อราอย่างดี

 - การทำความสะอาดพรมด้วยตัวเองเป็นเรื่องยาก ต้องใช้มืออาชีพที่เชื่อถือได้ว่าจะใช้น้ำยาซักพรมที่ฆ่าเชื้อกำจัดกลิ่น และใช้เครื่องมือซักพรมชนิดพิเศษที่สามารถทำความสะอาดได้ล้ำลึก แต่ค่าใช้จ่ายในการทำความสะอาดค่อนข้างสูง ควรพิจารณาให้ดี

ข้อแนะนำ

  1. การป้องกันร่างกายให้ถูกต้อง เช่น สวมถุงมือยาง (เช่น ถุงมือล้างจานที่แม่บ้านใช้) สวมรองเท้าบูทยาง สวมหน้ากาก (mask) สวมเสื้อผ้ามิดชิด เพื่อป้องกันไม่ให้ความสกปรกมาถูกตัว ถูกผิวหนัง/แผล หรือน้ำกระเด็นเข้าปาก/น้ำเข้าตา ต้องล้างมือล้างเท้าด้วยน้ำสะอาดและสบู่บ่อย ๆ ต้องคำนึงว่ากำลังทำงานอยู่กับของสกปรก

  2. ใช้น้ำยาที่ใช้อยู่ตามปกติ ทำความสะอาดคราบต่าง ๆ (คราบดิน/โคลน คราบน้ำ) ก่อนในขั้นแรก เพื่อเอาความสกปรกออกให้ได้มากที่สุด เช่น น้ำยาล้างบ้าน ล้างพื้นห้องน้ำ ผงซักฟอก เป็นต้น แต่ต้องปฏิบัติตามฉลากของนำยาเหล่านั้นให้ถูกต้อง เช่น อะไรใช้กับไม้ กับกระเบื้อง กับ โลหะ (= ต้องอ่านฉลาก)

  3. ควรทำในที่ที่อากาศถ่ายเทดี (ห้ามเปิดพัดลม หรือเครื่องปรับอากาศ เพราะจะทำให้เชื้อราฟุ้งกระจายในอากาศ)

 

  1. เมื่อเกิดเชื้อราขึ้นกับวัสดุที่เป็นพื้นแข็ง ให้ใช้น้ำสบู่ แอลกอฮอล์ หรือน้ำยาขัดห้องน้ำล้าง และขัดให้ด้วยแปรงชนิดแข็งจนเชื้อราออกจนหมดจด จากนั้นใช้ผ้าชุบน้ำเช็ดหลาย ๆ รอบจนกว่าจะแน่ใจว่าสะอาด

  2. วัสดุที่เป็นเนื้ออ่อน เช่น หนังสือ กระดาษมัน พลาสติก กล่อง ให้ใช้สำลีชุบฟอร์มาลีนเช็ด แล้วตามด้วยผ้าชุบน้ำสะอาด จากนั้นนำไปวางไว้ในที่ที่อากาศถ่ายเท และมีแสงแดดส่องถึงเล็กน้อย แล้วปล่อยให้แห้ง

  3. พรม ฝ้า หรือที่นอน หากมีเชื้อราขึ้น ให้โยนทิ้งจะปลอดภัยที่สุด เพราะวัสดุที่มีรูอย่างพรม ฝ้า และที่นอนนี้ เป็นวัสดุที่ล้างเชื้อราออกได้ยากมาก และแทบเป็นไปไม่ได้เลยที่จะสามารถล้างออกได้หมดจด 100% ซึ่งถ้าหากยังดันทุรังใช้ต่อไป ความชื้นในห้องก็อาจจะทำให้เชื้อราลุกลาม ฟักตัวได้กว้างขึ้น ทำให้เกิดโรคและเป็นอันตรายต่อระบบทางเดินหายใจของผู้อยู่อาศัยไม่รู้ตัว ซึ่งแน่นอนว่ามันไม่คุ้มกันเลยล่ะ

  4. อย่าทาสีหรือแลคเกอร์ทับในบริเวณที่เกิดเชื้อรา ให้ล้างออกให้สะอาดหมดจดก่อน จากนั้นค่อยเริ่มทาสีหรือแลคเกอร์

  5. กรณีที่เชื้อราผุดให้เห็นในข้าวของเครื่องใช้ประเภทเครื่องหนัง ให้ใช้น้ำส้มสายชูเช็ดหลาย ๆ ครั้ง จนแน่ใจว่าสะอาด จากนั้นเช็ดครั้งสุดท้ายด้วยน้ำสะอาด น้ำส้มสายชูจะช่วยกำจัดเชื้อราได้เป็นอย่างดี

  6. เฟอร์นิเจอร์ หรือของใช้ที่เป็นไม้เนื้ออ่อน โดยปกติวัสดุเหล่านี้จะเสี่ยงต่อการขึ้นราเมื่อมีความชื้นอยู่แล้ว ซึ่งมันจะไม่เป็นอะไรมากนักหากนำมาล้างทำความสะอาดภายใน 24-48 ชั่วโมงที่พบเชื้อ หรือเริ่มสังเกตเป็นดอกเป็นดวงขึ้น แต่ในกรณีที่น้ำท่วมแล้วปล่อยบ้านไว้นานเป็นเดือน ๆ ขอแนะนำให้ทิ้งข้าวของเครื่องใช้ที่ทำด้วยไม้เนื้ออ่อนเหล่านั้นไปอย่างไม่ต้องเสียดาย เพราะอาจจะฟักตัวเป็นเชื้อราที่อันตรายมากขึ้นได้

  7. ย้ายเฟอร์นิเจอร์ หรือเครื่องใช้ที่มีราขึ้น (และตอนนี้ได้ทำความสะอาดแล้ว) ไปอยู่ในที่ที่อากาศถ่ายเทได้สะดวก หรือที่แสงแดดส่องถึงสักระยะหนึ่ง คือประมาณ 1-2 สัปดาห์ แล้วหมั่นคอยตรวจสอบว่า หลังจากทำความสะอาดแล้วยังมีเชื้อราขึ้นอยู่อีกหรือไม่ หากไม่มีก็แสดงว่าสามารถแน่ใจแล้วว่าเราได้ทำความสะอาดเชื้อราออกไปได้อย่างหมดจดแล้วจริง ๆ แต่หากยังพบร่องรอยของเชื้อรา ขอให้นำมาทำความสะอาดใหม่ เพราะมันจะลามได้ง่ายมากถ้าหากวันหนึ่งอากาศชื้นอีกครั้ง

  8. วอลเปเปอร์ ใช้กรดซาลิไซลิด ผสมกับแอลกอฮอล์ในอัตราส่วน 1:5 จากนั้นนำผ้ามาชุบไปเช็ดวอลเปเปอร์ซ้ำ ๆ ประมาณ 2 รอบ แต่ถ้าหากว่ามีเชื้อราอยู่มาก แนะนำให้รื้อทิ้งแล้วเปลี่ยนวอลเปเปอร์ใหม่จะดีกว่า

  9. เสื้อผ้า ผ้าม่าน และผ้าห่ม หากพบเชื้อรา สามารถฆ่าเชื้อเบื้องต้นได้โดยใช้น้ำร้อน จากนั้นขยี้แล้วซักให้สะอาดหลาย ๆ ครั้ง และตากในที่ที่มีแสงแดดเท่านั้น เพื่อเป็นการฆ่าเชื้ออีกที

  10. งดกิจกรรมที่จะก่อให้เกิดความชื้นภายในบ้าน หากตัวบ้านเพิ่งมีราขึ้นและได้รับการทำความสะอาดไปใหม่ ๆ ไม่ควรต้มน้ำ ซักผ้า ตากผ้า เปิดเครื่องปรับอากาศเย็นจัด แต่ควรเปิดให้อากาศภายนอกได้ระบายเข้ามาบ้าง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในวันแดดจัด แม้ว่าจะทำให้คุณร้อนอบอ้าวไปบ้าง แต่แสงแดดจะช่วยฆ่าเชื้อราได้ดีเลยทีเดียว

 

รูปภาพของ sss28263
ขอบคุณที่นำความรู้และประสบการณ์มาเล่าสู่กันฟังนะจ้ะ
รูปภาพของ sss28167

ดีๆๆ ได้ความรู้เยอะเลยย  ^^  เจ๋งงง

รูปภาพของ ssspoonsak

อืม ดีจ้ะ แต่จะเพิ่มเติมอีกก็ได้นะจ้ะ

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

รูปภาพของ sss28277

เยี่ยมเยี่ยมเยี่ยม >< !!!! ความรู้เพียบ

รูปภาพของ sss28270

ว้าวๆๆๆ *-*

รูปภาพของ sss28318

สวยมากเลยจ้า ประโยชน์ความรู้เพียบ :D

รูปภาพของ sss28204

เนื้อหามีประโยชน์ มากๆเลยค่ะ
บล็อคก็น่ารัก

รูปภาพของ sss28262

บล็อกน่ารักมากเลย มีวิดีโอด้วย เจ๋งสุดยอด

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 327 คน กำลังออนไลน์