• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('บัญชีผู้ใช้', 'user/login', '', '3.17.186.247', 0, '8dc1d6989629221374dc3f87c3557c32', 177, 1716188555) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:af8d025d730182f7ab99cdf679455bbd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\nน้ำป่าไหลหลาก  ดินโคลนถล่ม  เตือนภัย ! กันได้ด้วยตัวคุณเอง <br />\nโดย อำนวย  ทิพศรีราช   <br />\n<img src=\"/files/u67216/b5f30ed55c1e0b0L.jpg\" width=\"250\" height=\"150\" /> \n</p>\n<p>\nที่มาของภาพ <a href=\"http://www.dektube.com/action/viewarticle/13659/_________________________________________________/\">http://www.dektube.com/action/viewarticle/13659/_________________________________________________/</a>\n</p>\n<p>\n จากสถานการณ์การเกิดน้ำป่าไหลหลากและดินโคลนถล่มในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  ได้แก่  อุตรดิตถ์  สุโขทัย  แพร่  น่าน  และลำปาง  ระหว่างวันที่ 22-23 พฤษภาคม 2549  โดยมีพื้นที่ที่ได้รับความเสียหายรุนแรง  มีผู้เสียชีวิตสูญหาย  บาดเจ็บจำนวนมาก  อีกทั้งบ้านเรือน  สิ่งสาธารณประโยชน์พื้นที่การเกษตร  ทรัพย์สินของประชาชน  ตลอดจนสถานที่ราชการได้รับความเสียหายเป็นจำนวนมาก  โดยเฉพาะอำเภอลับแล  ท่าปลา  และอำเภอเมือง  จังหวัดอุตรดิตถ์  อำเภอศรีสัชนาลัย  จังหวัดสุโขทัย  และอำเภอเมือง  จังหวัดแพร่ <br />\nเหตุการณ์ลักษณะนี้ได้เกิดขึ้นมาแล้วหลายครั้ง  ไม่ว่าจะเป็นกรณีบ้านกระทูน  อำเภอพิปูน  จังหวัดนครศรีธรรมราช  บ้านน้ำก้อ  อำเภอหล่มสัก  จังหวัดเพชรบูรณ์  อำเภอวังชิ้น  จังหวัดแพร่ เป็นต้น  ซึ่งแต่ละครั้งนำความสูญเสียอันใหญ่หลวงต่อชีวิตและทรัพย์สิน  สาเหตุที่สำคัญที่ทำให้เกิดเหตุการณ์และนำมาซึ่งความสูญเสียก็คือ  ฝนที่ตกหนักติดต่อกันจนถึงปริมาณที่ดินไม่สามารถอุ้มน้ำเหล่านั้นไว้ได้  จนเกิดน้ำป่าไหลหลากและดินถล่มในเวลาต่อมา  ดังตารางที่ 1  ฝนสะสมในแต่ละวันของ 2 วันคือ  วันที่ 21 และ 22 พ.ค. 2549  เกิน 90 มิลลิเมตร   ถือว่าฝนตกหนักมาก  โดยเฉพาะที่อุตรดิตถ์  เกิน 100 มิลลิเมตร   ทั้ง 2 วัน  เพราะรวมกันแล้วมากกว่าร้อยละ 60 ของปริมาณฝนสะสมตั้งแต่ต้นปี  ในขณะเดียวกันประชาชนในพื้นที่เสี่ยงดังกล่าวก็ไม่ได้รับการเตือนภัยล่วงหน้า  เพื่อที่หนีภัย  บทเรียนลักษณะดังกล่าวหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องได้พยายามเข้ามาแก้ปัญหา เช่น ติดตั้งเครื่องวัดปริมาณฝน  ติดตั้งเครื่องไซเรนในพื้นที่เสี่ยงตั้งแต่ปี 2546 เป็นต้นมา  แต่ในสถานการณ์จริงพื้นที่เสี่ยงในทางภูมิศาสตร์กับพื้นที่เกิดภัยจริงอาจอยู่เหนือคาดหมายอย่างกรณีปี 2549 นี้   ดังนั้นทางออกที่จะทำให้ประชาชนได้ทราบถึงความเสี่ยงและได้รับการเตือนภัยอย่างทันท่วงที  และทั่วถึงจึงมีข้อเสนอแนะสำหรับชุมชนหรือหมู่บ้านที่ตั้งอยู่เชิงเขาหรือหุบเขา  ดังนี้ <br />\n1.       การวัดน้ำฝน <br />\n1.1        หาอาสาสมัครวัดน้ำฝนประจำหมู่บ้าน <br />\n1.2        ประยุกต์เครื่องวัดปริมาณฝนอย่างง่าย  โดยใช้แก้วน้ำใสทรงกระบอก  ก้นแก้วเรียบ <br />\n1.3        สร้างฐานรองรับแก้วน้ำสูงจากพื้นประมาณ 1 เมตร   และต้องไม่เอียง ณ พื้นที่โล่ง หรือสนาม หรือจุดที่รับน้ำฝนจากท้องฟ้าโดยตรง  ไม่มีการกระเด็นหรือหยดจากแหล่งอื่น <br />\n1.4        เมื่อมีฝนตก  อาสาสมัครนำแก้วน้ำที่เตรียมไว้ในข้อ 1.2 ไปวางไว้บนฐานในข้อ 1.3 โดยอาจมีหลายจุดวัด  หากมีตำแหน่งและอาสาสมัครเพียงพอ <br />\n1.5        เมื่อฝนหยุดตก  อาสาสมัครนำไม้บรรทัดหรือเครื่องมือที่มีลักษณะเหมือนกันไปวัดเทียบความสูงของน้ำในแก้ว  วัดเป็นหน่วยมิลลิเมตร  แล้วจดบันทึกไว้  กรณีฝนตกติดต่อกันน้ำจะเต็มแก้วให้วัดแล้วบันทึกไว้พร้อมเทน้ำทิ้งแล้ววางรับน้ำฝนต่อ  ทำต่อไปเรื่อยจนกว่าฝนจะหยุดตก  (ควรวัดทันทีหลังฝนหยุดตก  ถึงแม้น้ำไม่เต็มแก้ว  เพราะน้ำจะมีการระเหยทำให้คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง  และวัดจากด้านนอกแก้ว) <br />\n1.6        การสรุปผล  รวมปริมาณฝนในรอบ 24 ชั่วโมง  (ตั้งแต่ 07.00 น. วันปัจจุบันถึง 07.00 น. วันรุ่งขึ้น)  ถ้ามากกว่า 90 มิลลิเมตร   ถือว่าฝนตกหนักมาก 35.1- 90 มิลลิเมตร   ถือว่าฝนหนัก <br />\n2.       การเตือนภัย  <br />\nควรให้ผู้ใหญ่บ้านหรือผู้นำชุมชนเป็นผู้ประกาศเตือนภัย  โดยอาจพิจารณาจากปริมาณฝนดังนี้  กรณีในช่วง 2-3 วันก่อนปริมาณฝนสะสม  ไม่เกิน 100 มิลลิเมตร   แล้ว ณ วันปัจจุบันในรอบ 24 ชั่วโมง  ปริมาณฝนมากกว่า 100 มิลลิเมตร   ให้เตรียมอพยพ  หากสะสมในรอบ 2 วันถัดมา  เกิน 300 มิลลิเมตร   ควรให้อพยพออกจากพื้นที่เสี่ยงภัยทันที  กรณีในช่วง 2-3 วันก่อนปริมาณฝนสะสมมากกว่า 100 มิลลิเมตร   ควรปรับลดลงอีกอาจเป็นเกิน 200 มิลลิเมตร   ให้อพยพจากพื้นที่เสี่ยงภัย เป็นต้น (อ้างอิง ตารางที่ 1 อุตรดิตถ์) <br />\nตารางที่ 1  ปริมาณฝน 5 สถานีหลัก  ที่อยู่ใกล้พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากน้ำป่าไหลหลากและดินถล่ม  ในวันที่ 22-23 พ.ค.2549 <br />\nสถานีวัดน้ำฝน  ปริมาณฝน (มิลลิเมตร) ปี 2549 <br />\nก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  1-19 พ.ค.  20 พ.ค.  21 พ.ค.  22 พ.ค.  สะสมตั้งแต่ต้นปี <br />\nอุตรดิตถ์  22.1  19.3  109.4  95.6  14.5  120.4  263.7  645.0 <br />\nศรีสำโรง  26.2  8.0  136.2  75.0  38.0  99.2  46.4  429.0 <br />\nแพร่  0.6  19.9  118.7  65.8  1.0  48.5  111.0  365.5 <br />\nเถิน  0.0  0.0  98.6  74.9  8.5  16.6  98.6  297.2 <br />\nลำปาง  16.8  43.0  174.3  101.9  0.8  29.6  42.9  409.3 </p>\n<p>ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา <br />\nหมายเหตุ :  -  เดือนมกราคม 2549  ทั้ง 5 สถานีไม่มีฝนตก<br />\n-   การวัดปริมาณฝน  จะวัดปริมาณฝนที่ตกสะสมตั้งแต่เวลา 07.00 น. วันปัจจุบันถึงเวลา 07.00 น.  วันรุ่งขึ้น  เช่น  วันที่ 22 พ.ค. หมายถึงปริมาณน้ำฝนตั้งแต่ 07.00 น.  วันที่ 22 พ.ค. ถึง 07.00 น.  วันที่ 23 พ.ค.  เป็นต้น </p>\n<p>ที่มาจาก<br />\n<a href=\"http://dpc10.ddc.moph.go.th/epinorth/pai1.htm\">http://dpc10.ddc.moph.go.th/epinorth/pai1.htm</a>\n</p>\n<p>\nค้นคว้าและนำเสนอต่อโดย\n</p>\n<p>\nเด็กชาย พรหมอินทร์  อินทร์อยู่ เลขที่ 8 ม.2/1  โรงเรียนเถินวิทยา ต.ล้อมแรด อ.เถิน จ.ลำปาง 52160\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #d7e7ea\"></span>\n</p>\n', created = 1716188615, expire = 1716275015, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:af8d025d730182f7ab99cdf679455bbd' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ภัยจากน้ำป่าไหลหลาก

รูปภาพของ tws19289

น้ำป่าไหลหลาก  ดินโคลนถล่ม  เตือนภัย ! กันได้ด้วยตัวคุณเอง 
โดย อำนวย  ทิพศรีราช  
 

ที่มาของภาพ http://www.dektube.com/action/viewarticle/13659/_________________________________________________/

 จากสถานการณ์การเกิดน้ำป่าไหลหลากและดินโคลนถล่มในพื้นที่ 5 จังหวัดภาคเหนือ  ได้แก่  อุตรดิตถ์  สุโขทัย  แพร่  น่าน  และลำปาง  ระหว่างวันที่ 22-23 พฤษภาคม 2549  โดยมีพื้นที่ที่ได้รับความเสียหายรุนแรง  มีผู้เสียชีวิตสูญหาย  บาดเจ็บจำนวนมาก  อีกทั้งบ้านเรือน  สิ่งสาธารณประโยชน์พื้นที่การเกษตร  ทรัพย์สินของประชาชน  ตลอดจนสถานที่ราชการได้รับความเสียหายเป็นจำนวนมาก  โดยเฉพาะอำเภอลับแล  ท่าปลา  และอำเภอเมือง  จังหวัดอุตรดิตถ์  อำเภอศรีสัชนาลัย  จังหวัดสุโขทัย  และอำเภอเมือง  จังหวัดแพร่
เหตุการณ์ลักษณะนี้ได้เกิดขึ้นมาแล้วหลายครั้ง  ไม่ว่าจะเป็นกรณีบ้านกระทูน  อำเภอพิปูน  จังหวัดนครศรีธรรมราช  บ้านน้ำก้อ  อำเภอหล่มสัก  จังหวัดเพชรบูรณ์  อำเภอวังชิ้น  จังหวัดแพร่ เป็นต้น  ซึ่งแต่ละครั้งนำความสูญเสียอันใหญ่หลวงต่อชีวิตและทรัพย์สิน  สาเหตุที่สำคัญที่ทำให้เกิดเหตุการณ์และนำมาซึ่งความสูญเสียก็คือ  ฝนที่ตกหนักติดต่อกันจนถึงปริมาณที่ดินไม่สามารถอุ้มน้ำเหล่านั้นไว้ได้  จนเกิดน้ำป่าไหลหลากและดินถล่มในเวลาต่อมา  ดังตารางที่ 1  ฝนสะสมในแต่ละวันของ 2 วันคือ  วันที่ 21 และ 22 พ.ค. 2549  เกิน 90 มิลลิเมตร   ถือว่าฝนตกหนักมาก  โดยเฉพาะที่อุตรดิตถ์  เกิน 100 มิลลิเมตร   ทั้ง 2 วัน  เพราะรวมกันแล้วมากกว่าร้อยละ 60 ของปริมาณฝนสะสมตั้งแต่ต้นปี  ในขณะเดียวกันประชาชนในพื้นที่เสี่ยงดังกล่าวก็ไม่ได้รับการเตือนภัยล่วงหน้า  เพื่อที่หนีภัย  บทเรียนลักษณะดังกล่าวหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องได้พยายามเข้ามาแก้ปัญหา เช่น ติดตั้งเครื่องวัดปริมาณฝน  ติดตั้งเครื่องไซเรนในพื้นที่เสี่ยงตั้งแต่ปี 2546 เป็นต้นมา  แต่ในสถานการณ์จริงพื้นที่เสี่ยงในทางภูมิศาสตร์กับพื้นที่เกิดภัยจริงอาจอยู่เหนือคาดหมายอย่างกรณีปี 2549 นี้   ดังนั้นทางออกที่จะทำให้ประชาชนได้ทราบถึงความเสี่ยงและได้รับการเตือนภัยอย่างทันท่วงที  และทั่วถึงจึงมีข้อเสนอแนะสำหรับชุมชนหรือหมู่บ้านที่ตั้งอยู่เชิงเขาหรือหุบเขา  ดังนี้
1.       การวัดน้ำฝน
1.1        หาอาสาสมัครวัดน้ำฝนประจำหมู่บ้าน
1.2        ประยุกต์เครื่องวัดปริมาณฝนอย่างง่าย  โดยใช้แก้วน้ำใสทรงกระบอก  ก้นแก้วเรียบ
1.3        สร้างฐานรองรับแก้วน้ำสูงจากพื้นประมาณ 1 เมตร   และต้องไม่เอียง ณ พื้นที่โล่ง หรือสนาม หรือจุดที่รับน้ำฝนจากท้องฟ้าโดยตรง  ไม่มีการกระเด็นหรือหยดจากแหล่งอื่น
1.4        เมื่อมีฝนตก  อาสาสมัครนำแก้วน้ำที่เตรียมไว้ในข้อ 1.2 ไปวางไว้บนฐานในข้อ 1.3 โดยอาจมีหลายจุดวัด  หากมีตำแหน่งและอาสาสมัครเพียงพอ
1.5        เมื่อฝนหยุดตก  อาสาสมัครนำไม้บรรทัดหรือเครื่องมือที่มีลักษณะเหมือนกันไปวัดเทียบความสูงของน้ำในแก้ว  วัดเป็นหน่วยมิลลิเมตร  แล้วจดบันทึกไว้  กรณีฝนตกติดต่อกันน้ำจะเต็มแก้วให้วัดแล้วบันทึกไว้พร้อมเทน้ำทิ้งแล้ววางรับน้ำฝนต่อ  ทำต่อไปเรื่อยจนกว่าฝนจะหยุดตก  (ควรวัดทันทีหลังฝนหยุดตก  ถึงแม้น้ำไม่เต็มแก้ว  เพราะน้ำจะมีการระเหยทำให้คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง  และวัดจากด้านนอกแก้ว)
1.6        การสรุปผล  รวมปริมาณฝนในรอบ 24 ชั่วโมง  (ตั้งแต่ 07.00 น. วันปัจจุบันถึง 07.00 น. วันรุ่งขึ้น)  ถ้ามากกว่า 90 มิลลิเมตร   ถือว่าฝนตกหนักมาก 35.1- 90 มิลลิเมตร   ถือว่าฝนหนัก
2.       การเตือนภัย 
ควรให้ผู้ใหญ่บ้านหรือผู้นำชุมชนเป็นผู้ประกาศเตือนภัย  โดยอาจพิจารณาจากปริมาณฝนดังนี้  กรณีในช่วง 2-3 วันก่อนปริมาณฝนสะสม  ไม่เกิน 100 มิลลิเมตร   แล้ว ณ วันปัจจุบันในรอบ 24 ชั่วโมง  ปริมาณฝนมากกว่า 100 มิลลิเมตร   ให้เตรียมอพยพ  หากสะสมในรอบ 2 วันถัดมา  เกิน 300 มิลลิเมตร   ควรให้อพยพออกจากพื้นที่เสี่ยงภัยทันที  กรณีในช่วง 2-3 วันก่อนปริมาณฝนสะสมมากกว่า 100 มิลลิเมตร   ควรปรับลดลงอีกอาจเป็นเกิน 200 มิลลิเมตร   ให้อพยพจากพื้นที่เสี่ยงภัย เป็นต้น (อ้างอิง ตารางที่ 1 อุตรดิตถ์)
ตารางที่ 1  ปริมาณฝน 5 สถานีหลัก  ที่อยู่ใกล้พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบจากน้ำป่าไหลหลากและดินถล่ม  ในวันที่ 22-23 พ.ค.2549
สถานีวัดน้ำฝน  ปริมาณฝน (มิลลิเมตร) ปี 2549
ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  1-19 พ.ค.  20 พ.ค.  21 พ.ค.  22 พ.ค.  สะสมตั้งแต่ต้นปี
อุตรดิตถ์  22.1  19.3  109.4  95.6  14.5  120.4  263.7  645.0
ศรีสำโรง  26.2  8.0  136.2  75.0  38.0  99.2  46.4  429.0
แพร่  0.6  19.9  118.7  65.8  1.0  48.5  111.0  365.5
เถิน  0.0  0.0  98.6  74.9  8.5  16.6  98.6  297.2
ลำปาง  16.8  43.0  174.3  101.9  0.8  29.6  42.9  409.3

ที่มา : กรมอุตุนิยมวิทยา
หมายเหตุ :  -  เดือนมกราคม 2549  ทั้ง 5 สถานีไม่มีฝนตก
-   การวัดปริมาณฝน  จะวัดปริมาณฝนที่ตกสะสมตั้งแต่เวลา 07.00 น. วันปัจจุบันถึงเวลา 07.00 น.  วันรุ่งขึ้น  เช่น  วันที่ 22 พ.ค. หมายถึงปริมาณน้ำฝนตั้งแต่ 07.00 น.  วันที่ 22 พ.ค. ถึง 07.00 น.  วันที่ 23 พ.ค.  เป็นต้น

ที่มาจาก
http://dpc10.ddc.moph.go.th/epinorth/pai1.htm

ค้นคว้าและนำเสนอต่อโดย

เด็กชาย พรหมอินทร์  อินทร์อยู่ เลขที่ 8 ม.2/1  โรงเรียนเถินวิทยา ต.ล้อมแรด อ.เถิน จ.ลำปาง 52160

 

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 268 คน กำลังออนไลน์