• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('เรียนรู้เรื่อง Flash ง่ายๆสไตล์เจมส์ครับ', 'node/89852', '', '3.147.52.8', 0, '944839403f3868ab92e4d42852f5122c', 254, 1716183383) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2f641f44e50cd7b6ecf8d7e88c8a4bf1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n    <u>   <span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt\"><span style=\"color: #000080\">ภัยจากตู้น้ำหยอดเหรียญ</span></span> </u>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"250\" width=\"130\" src=\"/files/u67207/R10089818-0.gif\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\">\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #e0e0e0\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 20pt\"><span lang=\"TH\" style=\"font-family: \'Angsana New\'; font-size: 14pt\"><span style=\"color: #ff00ff\">ที่มาของรูปภาพ</span></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\" class=\"MsoNormal\" style=\"margin: 0cm 0cm 0pt\">\n<span style=\"font-family: Tahoma; color: #e0e0e0\">ที่มาที่mujmmm</span>\n</p>\n<p><span style=\"font-family: Tahoma; color: #e0e0e0\"><a target=\"_blank\" href=\"http://www.jsk2545.com/product_water_vending.html\"><span style=\"color: #f0f000\"><u><span style=\"color: #ff00ff; font-size: small\">http://www.jsk2545.com/product_water_vending.html</span></u></span></a></span></p>\n<p><a target=\"_blank\" href=\"http://www.jpwaters.com/watercoin.htm\"><span style=\"color: #f0f000\"><u><span style=\"color: #ff00ff; font-size: small\">http://www.jpwaters.com/watercoin.htm</span></u></span></a><o:p></o:p> </p>\n<p>\n     <span style=\"color: #000080\"><span style=\"background-color: #99cc00; color: #008000\">  ภาพผู้คนในชุมชนถือขวดน้ำพลาสติกมุ่งหน้าไปที่ตู้น้ำหยอดเหรียญ เพื่อกดน้ำมาดื่ม คงเป็นภาพที่ชินชาของใครหลายๆ คนเมื่อธุรกิจหยอดเหรียญกลายมาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะทำอะไรก็กลายเป็นทำกับเครื่องจักรไปซะทั้งหมด แม้กระทั่งตู้น้ำหยอดเหรียญที่มีกันเกลื่อน แค่เฉพาะในเขตกรุงเทพฯ มีถึงกว่า 20,000 ตู้ กระจายตามจุดต่างๆ โดยเฉพาะหอพักหรือแหล่งชุมชนที่มีคนอาศัยกันอยู่อย่างชุกชุม<br />\n        ตู้น้ำหยอดเหรียญ โฆษณาคุณสมบัติไว้ว่า สะอาดกว่าน้ำประปา ราคาถูก ผ่านขั้นตอนการกรองน้ำหลายขั้นตอน ระบบกรอง RO (Reverse Osmosis) ซึ่งน้ำดื่มระบบ RO เป็นระบบกรองน้ำซึ่งจะทำให้น้ำที่ได้มา ค่อนข้างมีความบริสุทธิ์สูง จนแทบจะเรียกว่า ไม่มีสารอะไรตกค้างอยู่เลยนอกจากน้ำเปล่าๆเท่านั้น หรือแทบจะเรียกว่ามีคุณภาพเทียบเท่าน้ำกลั่น บวกกับการผ่าน UV (รังสีอัลตราไวโอเลต - Ultraviolet สามารถใช้ฆ่าเชื้อโรคได้ โดยเฉพาะในน้ำดื่ม) เป็นสิ่งที่ดึงดูดให้ใครหลายคนเลือกที่จะเดินไปกดน้ำที่ตู้น้ำฯ เพื่อนำมาดื่ม เพราะสะดวกราคาถูกแถมประหยัดดีด้วย<br />\n</span></span>       <br />\n<span style=\"color: #666699\"><span style=\"background-color: #00ffff; color: #0000ff\">ในวารสาร \'ฉลาดซื้อ\' ของมูลนิธิคุ้มครองผู้บริโภค ฉบับที่ 117 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2553 มีการยกประเด็นเรื่อง \'น้ำดื่มจากตู้หยอดเหรียญกับเรื่องที่ต้องระวัง\'มานำเสนอไว้ว่าช่วงที่ผ่านมามีการสำรวจจากหลายหน่วยงานพบว่า ตู้น้ำหยอดเหรียญมีความเสี่ยงเรื่องการปนเปื้อนของเชื้อโรค ที่จะทำให้เกิดปัญหาเรื่องสุขภาพตามมาได้<br />\n       ความไม่สะอาดของอุปกรณ์กรองน้ำภาชนะที่เก็บและการเก็บน้ำที่กรองออกมาจากตู้น้ำหยอดเหรียญอย่างไม่ถูกสุขลักษณะนั่นเองที่ทำให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ แบคทีเรีย และโคลิฟอร์ม แถมด้วยบางตู้น้ำฯ ยังพบสาหร่ายและตะไคร่บริเวณหัวจ่ายน้ำอีกต่างหาก<br />\n      เห็นรายละเอียดข้างบนแล้วทำให้นักบริโภคที่นิยมดื่มน้ำจากตู้น้ำหยอดเหรียญหวาดผวา ที่เคยเข้าใจว่าน้ำดื่มที่คิดว่าสะอาดจริงๆ แล้วสะอาดสมคำโฆษณาหรือไม่ก็ต้องพิจารณาไตร่ตรองกันให้ถี่ถ้วน<br />\n</span>       <br />\n    <span style=\"background-color: #cc99ff; color: #0000ff\">เมื่อน้ำดื่มต้องหยอดเหรียญ<br />\n        ในช่วงปี 2547 รัฐบาลได้มีการสนับสนุนให้ทุกจังหวัดจัดหาตู้น้ำฯ ตามโครงการตู้น้ำหยอดเหรียญเพื่อชุมชน หลังจากนั้นจึงเกิดกระแสหน่วยงานและชุมชน ในเขตพื้นที่เทศบาลและที่ชุมชนที่มีประชาชนอยู่จำนวนมาก สามารถซื้อตู้น้ำฯ ไปติดตั้งเพื่อให้บริการแก่ประชาชนในลักษณะตัวแทนจำหน่ายหรือซื้อเพื่อจำหน่ายโดยตรง<br />\n      <br />\n</span></span><span style=\"color: #003300\"><span style=\"background-color: #cc99ff\"><span style=\"color: #0000ff\">สุรีย์ วงศ์ปิยชน ผู้อำนวยการสำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข กล่าวถึงเรื่องงการตรวจสอบความสะอาดของตู้น้ำฯ ว่าปี2552 กรมอนามัยได้ทำการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคครัวเรือนโดยการ<br />\nสุ่มตรวจสอบคุณภาพน้ำดื่มจากตู้น้ำหยอดเหรียญด้วยจำนวน 6 ตัวอย่าง จาก 19 จังหวัดในภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศ ทั้งเขตเมืองและชนบท พบว่าไม่ผ่านเกณฑ์ด้านแบคทีเรียจำนวน4ตัวอย่าง<br />\n       ทั้งนี้อาจเกิดจากการดูแลบำรุงรักษาระบบตู้น้ำหยอดเหรียญ เช่น การไม่ล้างทำความสะอาดเยื่อกรอง เมื่อเยื่อกรองมีสิ่งอุดตันมากๆ ทำให้เยื่อกรองแตก ไม่สามารถกรองสิ่งสกปรกหรือแบคทีเรียได้ หรือเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ตั้งอยู่ใกล้ถนนมีฝุ่นละออง ตลอดทั้งความสะอาดของตู้ ที่มีคราบสกปรก เศษดิน จึงอาจจะก่อให้เกิดการปนเปื้อนทางแบคทีเรียได้<br />\n       ไม่เพียงเท่านั้น ล่าสุดมีการศึกษากันอีกครั้งโดยสำนักคณะกรรมการอาหารและยา ผ่านการสุ่มตัวอย่างจากพื้นที่ต่างๆ ในกรุงเทพฯ 350 ตัวอย่าง พบว่าคุณภาพน้ำผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 264 ตัวอย่าง นอกจากนี้บริเวณหัวจ่ายน้ำของตู้หยอดเหรียญมีตะไคร่น้ำกว่าร้อยละ50ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด<br />\n</span>       <br />\n</span></span>     \n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ffff00\"><span style=\"background-color: #ff0000\"><span style=\"color: #008000\"><span style=\"color: #ff99cc\"> หามาตรฐานยาก<br />\n      ปิยะศักดิ์  พิเชษฐนาวิน หนึ่งในผู้ประกอบการตู้น้ำหยอดเหรียญพูดถึงกระแสข่าวความไม่สะอาดของน้ำดื่มจากตู้น้ำฯ ว่ากังวลใจกับข่าวนี้ในระดับหนึ่ง แต่ในส่วนของผู้บริโภคเองก็ควรมีความระวังในการเลือกตู้น้ำฯ เพราะดูจากตาเปล่าได้ยาก จึงอยากให้สังเกตว่ามีการตรวจสอบคุณภาพน้ำเป็นประจำหรือไม่จากเอกสารที่ติดข้างตู้ว่ามีการระบุวันที่เปลี่ยนไส้กรองเมื่อไหร่<br />\n        “สุดท้ายมันก็เหมือนสินค้าบริโภคทั่วๆ ไป ที่เราก็ต้องให้ความดูแลเอาใจใส่พอสมควร เช่น น้ำดื่มบรรจุขวดถ้ามันวางไว้กลางแดด มีตะไคร่น้ำขึ้น ฉลากดูเก่าๆ ก็ไม่ควรไปซื้อมาดื่ม แต่ส่วนตัวแล้วมองว่าถ้าเรามั่นใจว่าเรามีการดูแลที่ดีตรงนี้คิดว่าคงไม่มีผลอะไรกับยอดขาย”<br />\n       โดยภาพรวม ปิยะศักดิ์มองว่า หากจะหามาตรฐานน้ำดื่มจากตู้น้ำฯ เป็นเรื่องยาก เพราะน้ำดื่มที่ไม่ได้บรรจุขวดมีโอกาสปนเปื้อนได้ตลอดเวลา ทั้งตัวอุปกรณ์ภายในตัวเครื่อง ไปจนถึงภาชนะที่ลูกค้าเอามาใส่น้ำ แม้กระทั่งคุณภาพน้ำดิบ(น้ำประปา)ที่เอามาบำบัดเพราะแต่ละที่คุณภาพน้ำต่างกัน</span></span><br />\n</span></span>       <br />\n<span style=\"color: #00ff00\">     </span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #00ffff\"><span style=\"color: #0000ff\">ค้นคว้าและนำเสนอต่อโดย ด.ญ.ปานตะวัน   อุ่นคำ เลขที่ 27 ห้อง 2/1  โรงเรียนเถินวิทยา  อ.เถิน จ.ลำปาง</span> </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #00ffff; color: #0000ff\">                                       E-mail  </span></span><a href=\"mailto:parn_6@hotmail.co.th\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #00ffff; color: #0000ff\">parn_6@hotmail.co.th</span></span></a><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"background-color: #00ffff; color: #0000ff\">                    </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #0000ff\"></span>\n</p>\n<p>\n                                  \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n', created = 1716183393, expire = 1716269793, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2f641f44e50cd7b6ecf8d7e88c8a4bf1' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ภัยจากนำตู้หยอดเหรียญ

รูปภาพของ tws19308

       ภัยจากตู้น้ำหยอดเหรียญ

ที่มาของรูปภาพ

ที่มาที่mujmmm

http://www.jsk2545.com/product_water_vending.html

http://www.jpwaters.com/watercoin.htm

       ภาพผู้คนในชุมชนถือขวดน้ำพลาสติกมุ่งหน้าไปที่ตู้น้ำหยอดเหรียญ เพื่อกดน้ำมาดื่ม คงเป็นภาพที่ชินชาของใครหลายๆ คนเมื่อธุรกิจหยอดเหรียญกลายมาเป็นส่วนหนึ่งในชีวิตประจำวัน ไม่ว่าจะทำอะไรก็กลายเป็นทำกับเครื่องจักรไปซะทั้งหมด แม้กระทั่งตู้น้ำหยอดเหรียญที่มีกันเกลื่อน แค่เฉพาะในเขตกรุงเทพฯ มีถึงกว่า 20,000 ตู้ กระจายตามจุดต่างๆ โดยเฉพาะหอพักหรือแหล่งชุมชนที่มีคนอาศัยกันอยู่อย่างชุกชุม
        ตู้น้ำหยอดเหรียญ โฆษณาคุณสมบัติไว้ว่า สะอาดกว่าน้ำประปา ราคาถูก ผ่านขั้นตอนการกรองน้ำหลายขั้นตอน ระบบกรอง RO (Reverse Osmosis) ซึ่งน้ำดื่มระบบ RO เป็นระบบกรองน้ำซึ่งจะทำให้น้ำที่ได้มา ค่อนข้างมีความบริสุทธิ์สูง จนแทบจะเรียกว่า ไม่มีสารอะไรตกค้างอยู่เลยนอกจากน้ำเปล่าๆเท่านั้น หรือแทบจะเรียกว่ามีคุณภาพเทียบเท่าน้ำกลั่น บวกกับการผ่าน UV (รังสีอัลตราไวโอเลต - Ultraviolet สามารถใช้ฆ่าเชื้อโรคได้ โดยเฉพาะในน้ำดื่ม) เป็นสิ่งที่ดึงดูดให้ใครหลายคนเลือกที่จะเดินไปกดน้ำที่ตู้น้ำฯ เพื่อนำมาดื่ม เพราะสะดวกราคาถูกแถมประหยัดดีด้วย
      
ในวารสาร 'ฉลาดซื้อ' ของมูลนิธิคุ้มครองผู้บริโภค ฉบับที่ 117 ประจำเดือนพฤศจิกายน 2553 มีการยกประเด็นเรื่อง 'น้ำดื่มจากตู้หยอดเหรียญกับเรื่องที่ต้องระวัง'มานำเสนอไว้ว่าช่วงที่ผ่านมามีการสำรวจจากหลายหน่วยงานพบว่า ตู้น้ำหยอดเหรียญมีความเสี่ยงเรื่องการปนเปื้อนของเชื้อโรค ที่จะทำให้เกิดปัญหาเรื่องสุขภาพตามมาได้
       ความไม่สะอาดของอุปกรณ์กรองน้ำภาชนะที่เก็บและการเก็บน้ำที่กรองออกมาจากตู้น้ำหยอดเหรียญอย่างไม่ถูกสุขลักษณะนั่นเองที่ทำให้เกิดการปนเปื้อนเชื้อจุลินทรีย์ แบคทีเรีย และโคลิฟอร์ม แถมด้วยบางตู้น้ำฯ ยังพบสาหร่ายและตะไคร่บริเวณหัวจ่ายน้ำอีกต่างหาก
      เห็นรายละเอียดข้างบนแล้วทำให้นักบริโภคที่นิยมดื่มน้ำจากตู้น้ำหยอดเหรียญหวาดผวา ที่เคยเข้าใจว่าน้ำดื่มที่คิดว่าสะอาดจริงๆ แล้วสะอาดสมคำโฆษณาหรือไม่ก็ต้องพิจารณาไตร่ตรองกันให้ถี่ถ้วน
       
    เมื่อน้ำดื่มต้องหยอดเหรียญ
        ในช่วงปี 2547 รัฐบาลได้มีการสนับสนุนให้ทุกจังหวัดจัดหาตู้น้ำฯ ตามโครงการตู้น้ำหยอดเหรียญเพื่อชุมชน หลังจากนั้นจึงเกิดกระแสหน่วยงานและชุมชน ในเขตพื้นที่เทศบาลและที่ชุมชนที่มีประชาชนอยู่จำนวนมาก สามารถซื้อตู้น้ำฯ ไปติดตั้งเพื่อให้บริการแก่ประชาชนในลักษณะตัวแทนจำหน่ายหรือซื้อเพื่อจำหน่ายโดยตรง
     
สุรีย์ วงศ์ปิยชน ผู้อำนวยการสำนักสุขาภิบาลอาหารและน้ำ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข กล่าวถึงเรื่องงการตรวจสอบความสะอาดของตู้น้ำฯ ว่าปี2552 กรมอนามัยได้ทำการเฝ้าระวังคุณภาพน้ำบริโภคครัวเรือนโดยการ
สุ่มตรวจสอบคุณภาพน้ำดื่มจากตู้น้ำหยอดเหรียญด้วยจำนวน 6 ตัวอย่าง จาก 19 จังหวัดในภูมิภาคต่างๆ ทั่วประเทศ ทั้งเขตเมืองและชนบท พบว่าไม่ผ่านเกณฑ์ด้านแบคทีเรียจำนวน4ตัวอย่าง
       ทั้งนี้อาจเกิดจากการดูแลบำรุงรักษาระบบตู้น้ำหยอดเหรียญ เช่น การไม่ล้างทำความสะอาดเยื่อกรอง เมื่อเยื่อกรองมีสิ่งอุดตันมากๆ ทำให้เยื่อกรองแตก ไม่สามารถกรองสิ่งสกปรกหรือแบคทีเรียได้ หรือเนื่องจากสภาพแวดล้อมที่ตั้งอยู่ใกล้ถนนมีฝุ่นละออง ตลอดทั้งความสะอาดของตู้ ที่มีคราบสกปรก เศษดิน จึงอาจจะก่อให้เกิดการปนเปื้อนทางแบคทีเรียได้
       ไม่เพียงเท่านั้น ล่าสุดมีการศึกษากันอีกครั้งโดยสำนักคณะกรรมการอาหารและยา ผ่านการสุ่มตัวอย่างจากพื้นที่ต่างๆ ในกรุงเทพฯ 350 ตัวอย่าง พบว่าคุณภาพน้ำผ่านเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 264 ตัวอย่าง นอกจากนี้บริเวณหัวจ่ายน้ำของตู้หยอดเหรียญมีตะไคร่น้ำกว่าร้อยละ50ของกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด
      
     

 หามาตรฐานยาก
      ปิยะศักดิ์  พิเชษฐนาวิน หนึ่งในผู้ประกอบการตู้น้ำหยอดเหรียญพูดถึงกระแสข่าวความไม่สะอาดของน้ำดื่มจากตู้น้ำฯ ว่ากังวลใจกับข่าวนี้ในระดับหนึ่ง แต่ในส่วนของผู้บริโภคเองก็ควรมีความระวังในการเลือกตู้น้ำฯ เพราะดูจากตาเปล่าได้ยาก จึงอยากให้สังเกตว่ามีการตรวจสอบคุณภาพน้ำเป็นประจำหรือไม่จากเอกสารที่ติดข้างตู้ว่ามีการระบุวันที่เปลี่ยนไส้กรองเมื่อไหร่
        “สุดท้ายมันก็เหมือนสินค้าบริโภคทั่วๆ ไป ที่เราก็ต้องให้ความดูแลเอาใจใส่พอสมควร เช่น น้ำดื่มบรรจุขวดถ้ามันวางไว้กลางแดด มีตะไคร่น้ำขึ้น ฉลากดูเก่าๆ ก็ไม่ควรไปซื้อมาดื่ม แต่ส่วนตัวแล้วมองว่าถ้าเรามั่นใจว่าเรามีการดูแลที่ดีตรงนี้คิดว่าคงไม่มีผลอะไรกับยอดขาย”
       โดยภาพรวม ปิยะศักดิ์มองว่า หากจะหามาตรฐานน้ำดื่มจากตู้น้ำฯ เป็นเรื่องยาก เพราะน้ำดื่มที่ไม่ได้บรรจุขวดมีโอกาสปนเปื้อนได้ตลอดเวลา ทั้งตัวอุปกรณ์ภายในตัวเครื่อง ไปจนถึงภาชนะที่ลูกค้าเอามาใส่น้ำ แม้กระทั่งคุณภาพน้ำดิบ(น้ำประปา)ที่เอามาบำบัดเพราะแต่ละที่คุณภาพน้ำต่างกัน

      
     ค้นคว้าและนำเสนอต่อโดย ด.ญ.ปานตะวัน   อุ่นคำ เลขที่ 27 ห้อง 2/1  โรงเรียนเถินวิทยา  อ.เถิน จ.ลำปาง

                                       E-mail  parn_6@hotmail.co.th                   

                                  

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 287 คน กำลังออนไลน์