• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:06332f37e0008780107e4441884a5e4a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><b><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\"><img src=\"http://www.kmonic.com/img/flower/GraphicFlower05.gif\" />วงจรชีวิตแมลงปอ</span></span><span style=\"font-size: large\"><o:p><img src=\"http://www.kmonic.com/img/flower/GraphicFlower11.gif\" /></o:p></span></span></span></b><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">            ตัวอ่อนของแมลงส่วนใหญ่หลังจากฟักออกจากไข่<span>     </span>จะมีรูปร่างลักษณะแตกต่างไปจากตัวเต็มวัยระดับ ของความแตกต่างอาจมีตั้งแต่    แตกต่างกันเพียงเล็กน้อย ไปจนถึงแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง<span>    </span>กระบวนการในการ พัฒนาของแมลงตัวอ่อนวัยแรกโดยการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ไปจนกระทั่งเป็นตัวเต็มวัย<span>    </span>เรียกว่า</span></span><span style=\"font-size: large\"><span>  </span><span lang=\"TH\">การถอดรูป </span>(<a name=\"metamorphosis\" title=\"metamorphosis\"></a>metamorphosis)<span lang=\"TH\">ซึ่งมายถึงการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง<span>  </span>เราอาจแบ่งแมลงตามแบบการ ถอดรูปได้ </span>3 <span lang=\"TH\">กลุ่ม<span>  </span>คือ</span><o:p> </o:p></span></span></span></p>\n<p style=\"margin-left: 0.25in; text-indent: -0.25in; text-align: justify; tab-stops: list .25in\" class=\"MsoNormal\">\n<span><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #0000ff; font-family: Angsana New\">1.<span style=\"font-weight: normal; font-style: normal; font-variant: normal\">      </span></span></span></span><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><b><span lang=\"TH\">แมลงที่ไม่มีการถอดรูป</span></b><span lang=\"TH\"> </span>(</span></span><a name=\"ametabolous\" title=\"ametabolous\"></a><span style=\"color: #0000ff; font-family: Angsana New\">ametabolous </span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-family: Angsana New\">or no metamorphosis)<span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-family: Angsana New\">         <span lang=\"TH\">แมลงในกลุ่มนี้มีแมลงในกลุ่มแรกที่เพิ่งฟักออกจากไข่<span>    </span>มีรูปร่างเหมือนตัวเต็มวัยแต่มีขนาดเล็กกว่าและยังมีอวัยวะเพศไม่เจริญจากนั้น ตัวอ่อนมีการลอกคราบ อีกหลายครั้งทำให้มีขนาดใหญ่ขึ้นและอวัยวะเพศค่อยๆเจริญจนกระทั่งกลายเป็นตัวเต็มวัยตัวอ่อนและตัวเต็มวัย อาศัย อยู่ในสภาวะแวดล้อมเดียวกันและมีลักษณะ ของอวัยวะส่วนปาก</span><span>  </span><span lang=\"TH\">รวมทั้งพฤติกรรมการกินอาหาร ที่เหมือนกัน   </span><span lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">แมลงที่อยู่ในระยะตัวอ่อนเรียกว่า</span><span lang=\"TH\"> </span></span></span><a name=\"nymphs\" title=\"nymphs\"></a><span style=\"color: #0000ff; font-family: Angsana New\">nymphs</span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-family: Angsana New\"> <span lang=\"TH\">หรือบางครั้งอาจเรียกว่า </span><span lang=\"TH\"> </span></span></span><a name=\"juvenile\" title=\"juvenile\"></a><span style=\"color: #0000ff; font-family: Angsana New\">juvenile</span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span>  </span><span lang=\"TH\">ได้แก่</span><span lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">แมลงในกลุ่มดึกดำบรรพ์ทีมไม่มีปีก</span>(Apterygota) <span lang=\"TH\">ในอันดับ </span>Protura, Collembola, Diplura, Thysanura <span lang=\"TH\">และ </span>Microcory</span></span></span><o:p><o:p><span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #0000ff\">   </span>                      <span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\"></span></span></span></o:p></o:p><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large; color: #0000ff; font-family: Angsana New\"><o:p> </o:p> </span></span></p>\n<p style=\"margin-left: 0.25in; text-indent: -0.25in; text-align: justify; tab-stops: list .25in\" class=\"MsoNormal\">\n<span><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-family: Angsana New\">2.<span style=\"font-weight: normal; font-style: normal; font-variant: normal\">      </span></span></span></span></span><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\"><span> </span><b>แมลงที่มีการถอดรูปไม่สมบูรณ์แบบ</b> </span>(</span></span><a name=\"hemimetabolous\" title=\"hemimetabolous\"></a><span style=\"color: #0000ff; font-family: Angsana New\">hemimetabolous </span><span style=\"color: #0000ff; font-family: Angsana New\">or </span><a name=\"incomplete metamorphosis\" title=\"incomplete metamorphosis\"></a><span style=\"color: #0000ff; font-family: Angsana New\">incomplete metamorphosis</span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-family: Angsana New\">)<span> </span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-left: 0.25in; text-indent: -0.25in; text-align: justify; tab-stops: list .25in\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: #0000ff; font-family: Angsana New\">   <span>       </span><span lang=\"TH\">ในแมลงกลุ่มนี้ตัวอ่อนที่ฟักออกจากไข่</span><span> </span><span lang=\"TH\">     มีตารวมและรูปร่างคล้ายกับตัวเต็มวัยแต่จะยังไม่มีปีกรวมทั้งต่อม ผลิตเซลล์สืบพันธุ์ภายนอกบางชนิดที่ไม่มีปีก จะไม่มีการถอดรูปเหมือนเช่นที่พบในแมลง กลุ่มแรก</span><span>    </span><span lang=\"TH\">ส่วนทีมี ปีกจะมีการพัฒนาของปีกเกิดขึ้นภายนอก  </span>(exoterygote)   <span lang=\"TH\">ตัวอ่อนจะมีการลอกคราบ หลายครั้ง<span>    </span>ต่อมาจะเริ่ม ปรากฏตุ่มปีก</span> (wing pads) <span lang=\"TH\">ขึ้นที่บริเวณด้านหลังของอกปล้องที่สองและสามปล้องละ </span>1 <span lang=\"TH\">คู่<span>  </span>หลังจากมีการ ลอกคราบอีกหลายครั้ง ตุ่มปีกเหล่านั้นจะค่อยๆเจริญกลายเป็นปีกที่ สมบูรณ์เมื่อแมลงเปลี่ยนไป เป็นตัวเต็มวัย<span>   </span>ทั้งแมลงตัวอ่อนและตัวเต็มวัยอาจอยู่ในสภาวะแวดล้อมและมีพฤติกรรม การกินอาหารที่เหมือน หรือแตกต่าง กัน   ก็ได้</span><span>  </span><span lang=\"TH\">แมลงตัวอ่อนที่อาศัยอยู่บนบกเรียกว่า</span> nymph <span lang=\"TH\">แมลงตัวอ่อนที่อาศัยอยู่ในน้ำเรียกว่า</span> </span><a name=\"niad\" title=\"niad\"></a><span style=\"color: #0000ff; font-family: Angsana New\">niad</span><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-family: Angsana New\"> <span lang=\"TH\">ซึ่งมีเหงือก และรยางค์อีกหลายอย่างเพื่อช่วยในการดำรงชีวิตอยู่ในน้ำ</span><span>  </span><span lang=\"TH\">(</span>resting or pupal stage<span lang=\"TH\">)</span><span lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ </span></span></span></span>\n</p>\n<p style=\"margin-left: 0.25in; text-indent: -0.25in; text-align: justify; tab-stops: list .25in\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: large; color: #0000ff; font-family: Angsana New\"></span>\n</p>\n<p style=\"margin-left: 0.75in; text-indent: -0.25in; text-align: justify; tab-stops: list .75in\" class=\"MsoNormal\">\n<span><span style=\"font-size: large; color: #0000ff; font-family: Angsana New\">1)<span style=\"font-weight: normal; font-style: normal; font-variant: normal\">      </span></span></span><span style=\"font-size: large; color: #0000ff; font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\">กลุ่มแมลงที่มีระยะตัวอ่อนอยู่ในน้ำ </span><span lang=\"TH\"> </span><span lang=\"TH\">มีอยู่เพียง 3 อันดับ คือ </span>Odonata, Ephemeroptera, <span lang=\"TH\">และ </span>Plecoptera </span>\n</p>\n<p><span style=\"font-size: large; color: #0000ff; font-family: Angsana New\"><o:p> </o:p> </span></p>\n<p align=\"center\" style=\"margin-left: 0.5in; text-align: center\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"><img src=\"/files/u54886/6666.jpg\" /></span>\n</p>\n<p><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large; color: #0000ff; font-family: Angsana New\">วงจรชีวิตแมลงปอ (อันดับ </span></span><span style=\"font-size: large; color: #0000ff; font-family: Angsana New\">Odonata<span lang=\"TH\">)</span><o:p> </o:p></span><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large; color: #0000ff; font-family: Angsana New\"><o:p>( <span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #0000ff\"><span lang=\"EN\">Britton </span>D.<span lang=\"EN\"> and Elliott. M.</span></span><span lang=\"TH\"><span style=\"color: #0000ff\"> 2004) </span></span></span></o:p></span></span><span><span style=\"font-size: large; color: #0000ff; font-family: Angsana New\">2)<span style=\"font-weight: normal; font-style: normal; font-variant: normal\">      </span></span></span><span style=\"font-size: large; color: #0000ff; font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\">กลุ่มแมลงที่มีระยะตัวอ่อนอยู่บนบก พบรวมทั้งสิ้น<span>  </span>14 อันดับ คือ </span>Phasmada, Isoptera, Blattaria, Grylloblattaria, Othoptera, Mantodae, Dermaptera, Embiidina, Phthiraptera, Zoraptera, Psocoptera, Hemiptera, Homoptera, <span lang=\"TH\">และ </span>Thysanoptera<span>  </span><span lang=\"TH\">ซึ่งแต่เดิมการถอดรูปของแมลงในกลุ่มนี้เคยเรียกว่า<span>  </span>การถอดรูปแบบทีละน้อย (</span>paurometabolous or gradual<span>  </span>metamorphosis<span lang=\"TH\">) ต่อมาการจำแนกในยุคปัจจุบัน ได้จัดให้แมลงในกลุ่มนี้มีการถอดรูปเป็นแบบ </span>hemimetabolous <span lang=\"TH\">เช่นเดียวกับแมลงในกลุ่มแรกที่ ตัวอ่อนอยู่ในน้ำ</span><o:p> </o:p></span><span style=\"font-size: large; color: #0000ff; font-family: Angsana New\"><o:p>   </o:p></span></p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">3.</span></span><span style=\"font-size: large\"><span lang=\"TH\"> <b><span> </span></b></span><b><span lang=\"TH\">แมลงที่มีการถอดรูปสมบูรณ์แบบ </span></b><span lang=\"TH\">(</span><a name=\"holometabolous\" title=\"holometabolous\"></a>holometabolous or <a name=\"complete metamorphosis\" title=\"complete metamorphosis\"></a>complete metamorphosis<span lang=\"TH\">)    </span></span></span></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span lang=\"TH\"><span style=\"font-size: large\">        การถอดรูปในลักษณะนี้มักพบได้ในกลุ่มแมลงที่มีวิวัฒนาการสูงวงจรชีวิตมีการพัฒนาการในระยะต่างๆ ที่สำคัญรวม 4 ระยะ คือ ระยะไข่<span>  </span>ระยะตัวอ่อนหรือ หนอน<span>    </span>ระยะดักแด้<span>    </span>ระยะตัวเต็มวัย<span>    </span>แมลงบางชนิดในกลุ่ม นี้เป็นแมลงที่ไม่มีปีก   แต่แมลงส่วนใหญ่มักมีปีกและมีการเจริญของปีกเกิดขึ้นภายใน (</span></span><span style=\"font-size: large\"><a name=\"endoterygote\" title=\"endoterygote\"></a>endoterygote<span lang=\"TH\">) ระยะ ตัวอ่อนหรือตัวหนอนตัวหนอนเรียกว่า </span>larva<span>  </span><span lang=\"TH\">ตัวหนอนมักไม่มีตารวมและหนวดมักเสื่อม<span>  </span>ลำตัวภายนอกไม่ ปรากฏร่องรอยใดที่จะ เจริญเป็นปีก<span>  </span>พัฒนาการของปีก เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ตัวหนอนยังอยู่ในวัยต้นๆ โดยพัฒนาจาก กลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า </span>maginal discs <span lang=\"TH\">(</span>buds<span lang=\"TH\">) หนอนส่วนใหญ่มักมี ปากเป็นแบบกัด<span>  </span>แม้ว่าตัวเต็มวัยอาจ มีปาก เป็นแบบอื่นๆที่ไม่ใช่ปากกัด ตัวหนอนมีรูปร่างลักษณะแตกต่างจากตัวเต็มวัยอย่างเห็นได้ชัดเจน<span> </span>มีทั้งขาจริง</span><span> </span><span lang=\"TH\">(</span><a name=\"thoracic legs\" title=\"thoracic legs\"></a>thoracic legs<span lang=\"TH\">)  และขาเทียม   (</span><a name=\"prolegs\" title=\"prolegs\"></a>prolegs<span lang=\"TH\">) ก็ได้<span>  </span>แต่มีการลอกคราบหลายครั้ง ก่อนที่หนอนในระยะสุดท้าย ที่โตเต็มที่แล้วจะเปลี่ยนเป็นตัวเต็มวัยต้องผ่านระยะที่เป็นดักแด้ (</span>pupa<span lang=\"TH\">)   มาก่อน<span>   </span>หนอนในระยะ สุดท้ายจะเริ่ม หยุดกินอาหารและเคลื่อนไหวน้อยลงเรียกหนอนในระยะนี้ว่า     ระยะเตรียมเข้าดักแด้   (</span>prepupa or pharate pupa<span lang=\"TH\">)   จากนั้นจะเข้าดักแด้ (</span>pupation<span lang=\"TH\">)    ด้วยการลอกคราบอีกครั้งหนึ่งเปลี่ยนเป็นดักแด้โดย สมบูรณ์<span>   </span>ในระหว่าง ที่กระบวนการเตรียมตัวเข้าดักแด้ และอยู่ในระยะดักแด้กำลังดำเนินไป<span>  </span>เนื้อเยื่อต่างๆ ที่ปรากฏ ในระยะหนอนมักมี การสลายตัวไปเพียงบางส่วนหรือทั้งหมด   โดยกลับมีเนื้อเยื่อของตัวเต็มวัยมาปรากฏ ขึ้นทดแทน<span>  </span>หนอนของแมลง ที่มี การถอดรูปสมบูรณ์แบบนอกจากมีตุ่มปีก   (</span>wing buds<span lang=\"TH\">)  ถูกซ่อนไว้ภายใน แล้วยังมี รูปร่าง ลักษณะที่แตกต่าง ไปจากแมลง ตัวเต็มวัยเห็นได้อย่างชัดเจน<span>  </span>แมลงที่มีการถอดรูปสมบูรณ์แบบเป็นแมลงที่จัดอยู่ใน อันดับต่างๆ รวม 9 อันดับ คือ </span>Mecoptera, Neuroptera, Tricgoptera, Siphonaptera, Strepsiptera, Coleoptera, Lepidoptera, <span lang=\"TH\">และ </span>Hymenoptera<o:p>  </o:p></span></span></span> </p>\n<p style=\"text-align: justify\" class=\"MsoNormal\">\n<img src=\"http://www.kmonic.com/img/iconOnion/GraphicOni32.gif\" />                                                     <img src=\"http://www.kmonic.com/img/korea1/GraphicKorea11.gif\" />                               <img src=\"http://www.kmonic.com/img/korea2/GraphicKorea04.gif\" />   \n</p>\n<p>\n<span style=\"font-size: large; font-family: Angsana New\"> เอกาสารอ้างอิง</span>\n</p>\n<p><span lang=\"EN\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\">Britton </span></span></span><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\">D.<span lang=\"EN\"> and Elliott.</span><span style=\"color: black\" lang=\"EN\"> M. </span><span style=\"color: black\">2004. </span><span lang=\"EN\">Metamorphosis - A remarkable change. </span><span style=\"color: black\">(Online). Australian museum. Available:</span> <span style=\"color: black\">http://www.amonline.net.au/insects/insects/metamorphosis.htm<span>  </span>(December 5. 2007)</span><span style=\"color: black\"><o:p> </o:p></span></span></span><span style=\"color: black\"><span style=\"font-size: large\"><span style=\"font-family: Angsana New\">Maddison, </span><a href=\"http://david.bembidion.org/\"><span style=\"color: black; text-decoration: none; text-underline: none\"><span style=\"font-family: Angsana New\">D. R. 2004.</span></span></a><span style=\"font-family: Angsana New\"> Protura. (Online). The <st1:placetype w:st=\"on\">University</st1:placetype> of <st1:placename w:st=\"on\">Arizona</st1:placename> <st1:placetype w:st=\"on\">College</st1:placetype> of <st1:placename w:st=\"on\">Agriculture</st1:placename> and Life Sciences and The <st1:place w:st=\"on\"><st1:placetype w:st=\"on\">University</st1:placetype> of <st1:placename w:st=\"on\">Arizona</st1:placename> </st1:place>Library. Available:</span></span> </span><span style=\"font-size: large\"><span style=\"color: black\"></span><span style=\"font-size: 18pt; color: black; font-family: \'Angsana New\'\"><a href=\"http://www.tolweb.org/Protura/8203\"><span style=\"color: black; text-decoration: none; text-underline: none\"><span style=\"font-family: Angsana New\">http://www.tolweb.org/Protura/8203</span></span></a><span>  </span>(December 5. 2007)<o:p> </o:p></span></span></p>\n', created = 1714717247, expire = 1714803647, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:06332f37e0008780107e4441884a5e4a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

วงจรชีวืตแมลงปอ

วงจรชีวิตแมลงปอ            ตัวอ่อนของแมลงส่วนใหญ่หลังจากฟักออกจากไข่     จะมีรูปร่างลักษณะแตกต่างไปจากตัวเต็มวัยระดับ ของความแตกต่างอาจมีตั้งแต่    แตกต่างกันเพียงเล็กน้อย ไปจนถึงแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง    กระบวนการในการ พัฒนาของแมลงตัวอ่อนวัยแรกโดยการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง ไปจนกระทั่งเป็นตัวเต็มวัย    เรียกว่า  การถอดรูป (metamorphosis)ซึ่งมายถึงการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง  เราอาจแบ่งแมลงตามแบบการ ถอดรูปได้ 3 กลุ่ม  คือ

1.      แมลงที่ไม่มีการถอดรูป (ametabolous or no metamorphosis) 

         แมลงในกลุ่มนี้มีแมลงในกลุ่มแรกที่เพิ่งฟักออกจากไข่    มีรูปร่างเหมือนตัวเต็มวัยแต่มีขนาดเล็กกว่าและยังมีอวัยวะเพศไม่เจริญจากนั้น ตัวอ่อนมีการลอกคราบ อีกหลายครั้งทำให้มีขนาดใหญ่ขึ้นและอวัยวะเพศค่อยๆเจริญจนกระทั่งกลายเป็นตัวเต็มวัยตัวอ่อนและตัวเต็มวัย อาศัย อยู่ในสภาวะแวดล้อมเดียวกันและมีลักษณะ ของอวัยวะส่วนปาก  รวมทั้งพฤติกรรมการกินอาหาร ที่เหมือนกัน    แมลงที่อยู่ในระยะตัวอ่อนเรียกว่า nymphs หรือบางครั้งอาจเรียกว่า  juvenile  ได้แก่ แมลงในกลุ่มดึกดำบรรพ์ทีมไม่มีปีก(Apterygota) ในอันดับ Protura, Collembola, Diplura, Thysanura และ Microcory                          

2.       แมลงที่มีการถอดรูปไม่สมบูรณ์แบบ (hemimetabolous or incomplete metamorphosis) 

          ในแมลงกลุ่มนี้ตัวอ่อนที่ฟักออกจากไข่      มีตารวมและรูปร่างคล้ายกับตัวเต็มวัยแต่จะยังไม่มีปีกรวมทั้งต่อม ผลิตเซลล์สืบพันธุ์ภายนอกบางชนิดที่ไม่มีปีก จะไม่มีการถอดรูปเหมือนเช่นที่พบในแมลง กลุ่มแรก    ส่วนทีมี ปีกจะมีการพัฒนาของปีกเกิดขึ้นภายนอก  (exoterygote)   ตัวอ่อนจะมีการลอกคราบ หลายครั้ง    ต่อมาจะเริ่ม ปรากฏตุ่มปีก (wing pads) ขึ้นที่บริเวณด้านหลังของอกปล้องที่สองและสามปล้องละ 1 คู่  หลังจากมีการ ลอกคราบอีกหลายครั้ง ตุ่มปีกเหล่านั้นจะค่อยๆเจริญกลายเป็นปีกที่ สมบูรณ์เมื่อแมลงเปลี่ยนไป เป็นตัวเต็มวัย   ทั้งแมลงตัวอ่อนและตัวเต็มวัยอาจอยู่ในสภาวะแวดล้อมและมีพฤติกรรม การกินอาหารที่เหมือน หรือแตกต่าง กัน   ก็ได้  แมลงตัวอ่อนที่อาศัยอยู่บนบกเรียกว่า nymph แมลงตัวอ่อนที่อาศัยอยู่ในน้ำเรียกว่า niad ซึ่งมีเหงือก และรยางค์อีกหลายอย่างเพื่อช่วยในการดำรงชีวิตอยู่ในน้ำ  (resting or pupal stage) สามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม คือ 

1)      กลุ่มแมลงที่มีระยะตัวอ่อนอยู่ในน้ำ  มีอยู่เพียง 3 อันดับ คือ Odonata, Ephemeroptera, และ Plecoptera

 

วงจรชีวิตแมลงปอ (อันดับ Odonata) Britton D. and Elliott. M. 2004) 2)      กลุ่มแมลงที่มีระยะตัวอ่อนอยู่บนบก พบรวมทั้งสิ้น  14 อันดับ คือ Phasmada, Isoptera, Blattaria, Grylloblattaria, Othoptera, Mantodae, Dermaptera, Embiidina, Phthiraptera, Zoraptera, Psocoptera, Hemiptera, Homoptera, และ Thysanoptera  ซึ่งแต่เดิมการถอดรูปของแมลงในกลุ่มนี้เคยเรียกว่า  การถอดรูปแบบทีละน้อย (paurometabolous or gradual  metamorphosis) ต่อมาการจำแนกในยุคปัจจุบัน ได้จัดให้แมลงในกลุ่มนี้มีการถอดรูปเป็นแบบ hemimetabolous เช่นเดียวกับแมลงในกลุ่มแรกที่ ตัวอ่อนอยู่ในน้ำ   

3.  แมลงที่มีการถอดรูปสมบูรณ์แบบ (holometabolous or complete metamorphosis)    

        การถอดรูปในลักษณะนี้มักพบได้ในกลุ่มแมลงที่มีวิวัฒนาการสูงวงจรชีวิตมีการพัฒนาการในระยะต่างๆ ที่สำคัญรวม 4 ระยะ คือ ระยะไข่  ระยะตัวอ่อนหรือ หนอน    ระยะดักแด้    ระยะตัวเต็มวัย    แมลงบางชนิดในกลุ่ม นี้เป็นแมลงที่ไม่มีปีก   แต่แมลงส่วนใหญ่มักมีปีกและมีการเจริญของปีกเกิดขึ้นภายใน (endoterygote) ระยะ ตัวอ่อนหรือตัวหนอนตัวหนอนเรียกว่า larva  ตัวหนอนมักไม่มีตารวมและหนวดมักเสื่อม  ลำตัวภายนอกไม่ ปรากฏร่องรอยใดที่จะ เจริญเป็นปีก  พัฒนาการของปีก เริ่มต้นขึ้นตั้งแต่ตัวหนอนยังอยู่ในวัยต้นๆ โดยพัฒนาจาก กลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า maginal discs (buds) หนอนส่วนใหญ่มักมี ปากเป็นแบบกัด  แม้ว่าตัวเต็มวัยอาจ มีปาก เป็นแบบอื่นๆที่ไม่ใช่ปากกัด ตัวหนอนมีรูปร่างลักษณะแตกต่างจากตัวเต็มวัยอย่างเห็นได้ชัดเจน มีทั้งขาจริง (thoracic legs)  และขาเทียม   (prolegs) ก็ได้  แต่มีการลอกคราบหลายครั้ง ก่อนที่หนอนในระยะสุดท้าย ที่โตเต็มที่แล้วจะเปลี่ยนเป็นตัวเต็มวัยต้องผ่านระยะที่เป็นดักแด้ (pupa)   มาก่อน   หนอนในระยะ สุดท้ายจะเริ่ม หยุดกินอาหารและเคลื่อนไหวน้อยลงเรียกหนอนในระยะนี้ว่า     ระยะเตรียมเข้าดักแด้   (prepupa or pharate pupa)   จากนั้นจะเข้าดักแด้ (pupation)    ด้วยการลอกคราบอีกครั้งหนึ่งเปลี่ยนเป็นดักแด้โดย สมบูรณ์   ในระหว่าง ที่กระบวนการเตรียมตัวเข้าดักแด้ และอยู่ในระยะดักแด้กำลังดำเนินไป  เนื้อเยื่อต่างๆ ที่ปรากฏ ในระยะหนอนมักมี การสลายตัวไปเพียงบางส่วนหรือทั้งหมด   โดยกลับมีเนื้อเยื่อของตัวเต็มวัยมาปรากฏ ขึ้นทดแทน  หนอนของแมลง ที่มี การถอดรูปสมบูรณ์แบบนอกจากมีตุ่มปีก   (wing buds)  ถูกซ่อนไว้ภายใน แล้วยังมี รูปร่าง ลักษณะที่แตกต่าง ไปจากแมลง ตัวเต็มวัยเห็นได้อย่างชัดเจน  แมลงที่มีการถอดรูปสมบูรณ์แบบเป็นแมลงที่จัดอยู่ใน อันดับต่างๆ รวม 9 อันดับ คือ Mecoptera, Neuroptera, Tricgoptera, Siphonaptera, Strepsiptera, Coleoptera, Lepidoptera, และ Hymenoptera  

                                                                                       

 เอกาสารอ้างอิง

Britton D. and Elliott. M. 2004. Metamorphosis - A remarkable change. (Online). Australian museum. Available: http://www.amonline.net.au/insects/insects/metamorphosis.htm  (December 5. 2007) Maddison, D. R. 2004. Protura. (Online). The University of Arizona College of Agriculture and Life Sciences and The University of Arizona Library. Available: http://www.tolweb.org/Protura/8203  (December 5. 2007)

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 491 คน กำลังออนไลน์