• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ed571648a3db3a5a3324dbb54cdb2a91' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><strong><img height=\"170\" width=\"600\" src=\"/files/u54138/bannersocial.jpg\" align=\"top\" border=\"0\" /> </strong></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #008000\"><strong>ภูมิปัญญาไทยด้านที่อยู่อาศัย<br />\n</strong></span>       บ้าน คือ ที่อยู่อาศัย ซึ่งนับเป็นความจำเป็นต่อการดำเนินชีวิต การสร้างที่อยู่อาศัยของไทย มีรูปแบบที่<br />\nหลากหลายตามสภาพแวดล้อมในแต่ละท้องถิ่น การสร้างบ้านจะสะท้อนให้เห็นถึงชีวิตของคนในท้องถิ่น<br />\nสภาพสังคม เศรษฐกิจ คติความเชื่อของผู้สร้าง แม้ว่าที่อยู่อาศัยของคนไทยทั้ง 4 ภาค จะไม่เหมือนกัน<br />\nตัวอย่างเช่น ที่อยู่อาศัยของคนภาคกลาง ส่วนใหญ่จะเ็ป็นบ้านยกพื้นสูงใต้ถุนโล่ง มีหน้าต่าง และช่องลม<br />\nจำนวนมากเพื่อรับลม คลายความร้อน ส่วนหลังคาเป็นรูปจั่ว เพื่อปกป้องความร้อนจากดวงอาทิตย์ และให้ฝน<br />\nไหลลงสู่พื้นได้รวดเร็วขึ้น และเก็บน้ำฝนไว้ใช้ดื่มกิน <br />\n       \n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"395\" width=\"523\" src=\"/files/u54138/home.jpg\" align=\"middle\" border=\"0\" />   \n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"font-family: MS Sans Serif; color: #0066ff; font-size: xx-small\">http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=normalsaline&amp;month=04-2007&amp;date=30&amp;group=4&amp;gblog=1</span>   \n</p>\n<p>\n หญ้าคานับว่าเป็นพืชที่มีประโยชน์ในทางเศรษฐกิจมาก เนื่องจากเราสามารถใช้ประโยชน์จากหญ้าคาได้หลายอย่างด้วยกัน<br />\nอาทิ นำมาไพเป็นตับทำเป็นที่มุงหลังคา เช่น ใช้มุงหลังคากระท่อม เล้าไก่ เล้าเป็ด คอกเลี้ยงหมู เป็นต้น ในแง่การนำหญ้าคามาไพ<br />\nเป็นตับ แล้วนำไปใช้มุงหลังคานั้น ผู้เขียนมีประสบการณ์ตรง เพราะเคยทำมาแล้วด้วยตนเอง เนื่องจากว่าหมู่บ้านของผู้เขียน<br />\n(บ้านสกล ตำบลตะเคียน อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ) เป็นหมู่บ้านแห่งหนึ่งที่มีชื่อเสียงด้านการไพหญ้าคาของจังหวัดสุรินทร์<br />\nดังนั้น ชาวบ้านส่วนใหญ่ของที่นี้จึงมีอาชีพไพหญ้าคาขาย ควบคู่กับการทำไร่นา ซึ่งการประกอบอาชีพไพหญ้าคาขายนั้นสามารถ<br />\nสร้างรายได้ให้แก่ชาวบ้านในระดับหนึ่ง แต่ไม่มากนัก เนื่องจากปัจจุบัน ชาวบ้านหาหญ้าคาได้ยากขึ้น เพราะส่วนใหญ่จะถูกไฟเผา<br />\nพร้อมๆกับวัชพืชอื่นๆในท้องไร่ท้องนา จะว่าไปแล้ว การไพหญ้าคาของแต่ละท้องที่จะมีลักษณะไม่เหมือนกัน อันเนื่องมาจาก<br />\nความจำกัดทางด้านอุปกรณ์และเครื่องมือ ในทีนี้ใคร่ขอนำเสนอขั้นตอนและวิธีการไพหญ้าคาที่ผู้เขียนเคยทำ รวมทั้งที่ชาวบ้าน<br />\nที่นี้ทำพอสังเขปดังนี้<br />\n                ในเบื้องต้น ชาวบ้านจะต้องออกเดินทางไปเกี่ยวหญ้าคาตามพื้นที่ป่าต่างๆบริเวณใกล้หมู่บ้าน เนื่องจากหญ้าคาไม่เป็นที่นิยม<br />\nปลูกของชาวบ้านที่นี่ ซึ่งการเก็บเกี่ยวหญ้าคาก็มีลักษณะเช่นเดียวกันกับการเก็บเกี่ยวต้นข้าว ภายหลังจากเก็บเกี่ยวได้แล้วก็นำมา<br />\nตากแดดให้แห้ง แล้วนำมามัดรวมกันเป็นฟ่อนขนาดไม่เล็กและไม่ใหญ่จนเกินไป (ประมาณ ๑ หอบ หรือ ๑ อ้อมแขน) ทั้งนี้ เพื่อให้<br />\nสามารถนำมาเก็บรวมกันและเคลื่อนย้ายได้สะดวก จากนั้นก็จะนำมัดที่เก็บไว้นั้น โดยเอามาทีละมัด เพื่อนำมาราดน้ำให้ชุ่มทั่วมัด<br />\nโดยให้ราดจากปลายใบลงโคนต้น และรอให้หญ้าอ่อนได้ที่พอสมควรแล้วจึงจะนำมาเข้าสู่ขั้นตอนของการไพ ซึ่งในขั้นตอนของการ<br />\nไพหญ้าคานั้น อุปกรณ์ที่จะต้องเตรียมประกอบด้วย<br />\n          ๑. ไม้ขนาดเล็กเรียวยาวขนาดลำต้นตรงประมาณเท่ากับหัวนิ้วมือ มีความยาวประมาณ ๑.๒๐ เมตร หรือมากกว่านั้นก็ได้<br />\n          ๒. เชือกปอ หรือ เชือกฟาง ชาวบ้านบางคนอาจใช้เชือกที่ทำจากเปลือกไม้ที่มีลักษณะแข็งแรงพอสมควร เพื่อเวลาที่ไพ<br />\nเชือกจะได้ไม่ขาด<br />\n          ๓. รางไม้สำหรับวางไม้ในข้อที่ ๑ เพื่อให้ได้ขนาดตามความต้องการ และเพื่อให้เวลาที่ไพมีความสมดุลตลอดแนว ทั้งนี้ เพื่อ<br />\nให้ดูออกมามีลักษณะที่ประณีต สวยงาม<br />\n          เมื่อเตรียมอุปกรณ์พร้อมแล้ว ลำดับต่อไปก็เข้าสู่ขั้นตอนของการไพ ซึ่งมีขั้นตอนง่ายๆดังนี้<br />\n          ขั้นตอนแรก นำหญ้าคาที่ได้ราดน้ำและมีความอ่อนพอประมาณแล้วมาวางลงบนรางไม้ให้เต็มรางไม้<br />\n          ขั้นตอนที่สอง นำไม้ที่เตรียมไว้ขนาดประมาณเท่าหัวนิ้วแม่มือนั้น มาวางไว้บนรางไม้ทีละหนึ่งอันเท่านั้น เพื่อให้สะดวกและ<br />\nง่ายต่อการไพ<br />\n          ขั้นตอนที่สาม ก็เริ่มไพหญ้าคา โดยการหยิบหญ้าคาที่ละหยิบมือพับลงบนไม้ที่เตรียมไว้ขนาดประมาณเท่าหัวนิ้วแม่มือนั้น<br />\nจากนั้นก็ใช้เชือกที่เตรียมไว้มัดให้แน่นลักษณะคล้ายการเย็บผ้า และให้ทำเช่นนี้เรื่อยไปจนกระทั้งหมดความยาวของไม้นั้น พอเสร็จ<br />\nก็ให้มัดให้แน่น แล้วนำไปตากแดดให้แห้งอีกครั้ง พอแหงแล้วก็ให้เก็บทับๆกันทีละสิบตับสลับกับไปมา ทั้งนี้เพื่อจะได้สะดวกในเวลา<br />\nเคลื่อนย้ายและนับขายต่อไป<br />\n          ปัจจุบันนั้น ชาวบ้านขายอยู่ที่ราคาตับละ ประมาณ ๗ บาท บางท้องที่ขายประมาณตับละ ๑๕- ๒๐ บาทเลยทีเดียว แม้ราคา<br />\nค่อนข้างจะสูงแต่ก็เป็นที่ต้องการของผู้คนจำนวนมาก โดยเฉพาะหน้าร้อนเช่นนี้ นอกจากหญ้าคาจะช่วยกันแดด กันฝนแล้ว มันยัง<br />\nจะช่วยกันความร้อนจากแสงแดดได้ดีและให้ความเย็นสบายได้มากทีเดียว ผู้คนส่วนมากตามชานเมือง และในชนบทจึงนิยมนำ<br />\nหญ้าคาไปสร้างเป็นกระท่อมน้อยข้างบ้าน ไว้สำหรับนอนเล่น นั่งเล่นสนทนากันพูดคุยกันในช่วงภาคเที่ยงและภาคบ่าย เพราะช่วง<br />\nเวลาดังกล่าวจะมีอากาศที่ร้อนอบอ้าว ซึ่งหญ้าคาก็จะช่วยกำจัดความร้อนได้ค่อนข้างดี\n</p>\n<p>    \n</p>\n', created = 1720429954, expire = 1720516354, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ed571648a3db3a5a3324dbb54cdb2a91' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

สังคมกับหญ้า

รูปภาพของ sss27962

 

ภูมิปัญญาไทยด้านที่อยู่อาศัย
       บ้าน คือ ที่อยู่อาศัย ซึ่งนับเป็นความจำเป็นต่อการดำเนินชีวิต การสร้างที่อยู่อาศัยของไทย มีรูปแบบที่
หลากหลายตามสภาพแวดล้อมในแต่ละท้องถิ่น การสร้างบ้านจะสะท้อนให้เห็นถึงชีวิตของคนในท้องถิ่น
สภาพสังคม เศรษฐกิจ คติความเชื่อของผู้สร้าง แม้ว่าที่อยู่อาศัยของคนไทยทั้ง 4 ภาค จะไม่เหมือนกัน
ตัวอย่างเช่น ที่อยู่อาศัยของคนภาคกลาง ส่วนใหญ่จะเ็ป็นบ้านยกพื้นสูงใต้ถุนโล่ง มีหน้าต่าง และช่องลม
จำนวนมากเพื่อรับลม คลายความร้อน ส่วนหลังคาเป็นรูปจั่ว เพื่อปกป้องความร้อนจากดวงอาทิตย์ และให้ฝน
ไหลลงสู่พื้นได้รวดเร็วขึ้น และเก็บน้ำฝนไว้ใช้ดื่มกิน 
       

   

http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=normalsaline&month=04-2007&date=30&group=4&gblog=1   

 หญ้าคานับว่าเป็นพืชที่มีประโยชน์ในทางเศรษฐกิจมาก เนื่องจากเราสามารถใช้ประโยชน์จากหญ้าคาได้หลายอย่างด้วยกัน
อาทิ นำมาไพเป็นตับทำเป็นที่มุงหลังคา เช่น ใช้มุงหลังคากระท่อม เล้าไก่ เล้าเป็ด คอกเลี้ยงหมู เป็นต้น ในแง่การนำหญ้าคามาไพ
เป็นตับ แล้วนำไปใช้มุงหลังคานั้น ผู้เขียนมีประสบการณ์ตรง เพราะเคยทำมาแล้วด้วยตนเอง เนื่องจากว่าหมู่บ้านของผู้เขียน
(บ้านสกล ตำบลตะเคียน อำเภอกาบเชิง จังหวัดสุรินทร์ ) เป็นหมู่บ้านแห่งหนึ่งที่มีชื่อเสียงด้านการไพหญ้าคาของจังหวัดสุรินทร์
ดังนั้น ชาวบ้านส่วนใหญ่ของที่นี้จึงมีอาชีพไพหญ้าคาขาย ควบคู่กับการทำไร่นา ซึ่งการประกอบอาชีพไพหญ้าคาขายนั้นสามารถ
สร้างรายได้ให้แก่ชาวบ้านในระดับหนึ่ง แต่ไม่มากนัก เนื่องจากปัจจุบัน ชาวบ้านหาหญ้าคาได้ยากขึ้น เพราะส่วนใหญ่จะถูกไฟเผา
พร้อมๆกับวัชพืชอื่นๆในท้องไร่ท้องนา จะว่าไปแล้ว การไพหญ้าคาของแต่ละท้องที่จะมีลักษณะไม่เหมือนกัน อันเนื่องมาจาก
ความจำกัดทางด้านอุปกรณ์และเครื่องมือ ในทีนี้ใคร่ขอนำเสนอขั้นตอนและวิธีการไพหญ้าคาที่ผู้เขียนเคยทำ รวมทั้งที่ชาวบ้าน
ที่นี้ทำพอสังเขปดังนี้
                ในเบื้องต้น ชาวบ้านจะต้องออกเดินทางไปเกี่ยวหญ้าคาตามพื้นที่ป่าต่างๆบริเวณใกล้หมู่บ้าน เนื่องจากหญ้าคาไม่เป็นที่นิยม
ปลูกของชาวบ้านที่นี่ ซึ่งการเก็บเกี่ยวหญ้าคาก็มีลักษณะเช่นเดียวกันกับการเก็บเกี่ยวต้นข้าว ภายหลังจากเก็บเกี่ยวได้แล้วก็นำมา
ตากแดดให้แห้ง แล้วนำมามัดรวมกันเป็นฟ่อนขนาดไม่เล็กและไม่ใหญ่จนเกินไป (ประมาณ ๑ หอบ หรือ ๑ อ้อมแขน) ทั้งนี้ เพื่อให้
สามารถนำมาเก็บรวมกันและเคลื่อนย้ายได้สะดวก จากนั้นก็จะนำมัดที่เก็บไว้นั้น โดยเอามาทีละมัด เพื่อนำมาราดน้ำให้ชุ่มทั่วมัด
โดยให้ราดจากปลายใบลงโคนต้น และรอให้หญ้าอ่อนได้ที่พอสมควรแล้วจึงจะนำมาเข้าสู่ขั้นตอนของการไพ ซึ่งในขั้นตอนของการ
ไพหญ้าคานั้น อุปกรณ์ที่จะต้องเตรียมประกอบด้วย
          ๑. ไม้ขนาดเล็กเรียวยาวขนาดลำต้นตรงประมาณเท่ากับหัวนิ้วมือ มีความยาวประมาณ ๑.๒๐ เมตร หรือมากกว่านั้นก็ได้
          ๒. เชือกปอ หรือ เชือกฟาง ชาวบ้านบางคนอาจใช้เชือกที่ทำจากเปลือกไม้ที่มีลักษณะแข็งแรงพอสมควร เพื่อเวลาที่ไพ
เชือกจะได้ไม่ขาด
          ๓. รางไม้สำหรับวางไม้ในข้อที่ ๑ เพื่อให้ได้ขนาดตามความต้องการ และเพื่อให้เวลาที่ไพมีความสมดุลตลอดแนว ทั้งนี้ เพื่อ
ให้ดูออกมามีลักษณะที่ประณีต สวยงาม
          เมื่อเตรียมอุปกรณ์พร้อมแล้ว ลำดับต่อไปก็เข้าสู่ขั้นตอนของการไพ ซึ่งมีขั้นตอนง่ายๆดังนี้
          ขั้นตอนแรก นำหญ้าคาที่ได้ราดน้ำและมีความอ่อนพอประมาณแล้วมาวางลงบนรางไม้ให้เต็มรางไม้
          ขั้นตอนที่สอง นำไม้ที่เตรียมไว้ขนาดประมาณเท่าหัวนิ้วแม่มือนั้น มาวางไว้บนรางไม้ทีละหนึ่งอันเท่านั้น เพื่อให้สะดวกและ
ง่ายต่อการไพ
          ขั้นตอนที่สาม ก็เริ่มไพหญ้าคา โดยการหยิบหญ้าคาที่ละหยิบมือพับลงบนไม้ที่เตรียมไว้ขนาดประมาณเท่าหัวนิ้วแม่มือนั้น
จากนั้นก็ใช้เชือกที่เตรียมไว้มัดให้แน่นลักษณะคล้ายการเย็บผ้า และให้ทำเช่นนี้เรื่อยไปจนกระทั้งหมดความยาวของไม้นั้น พอเสร็จ
ก็ให้มัดให้แน่น แล้วนำไปตากแดดให้แห้งอีกครั้ง พอแหงแล้วก็ให้เก็บทับๆกันทีละสิบตับสลับกับไปมา ทั้งนี้เพื่อจะได้สะดวกในเวลา
เคลื่อนย้ายและนับขายต่อไป
          ปัจจุบันนั้น ชาวบ้านขายอยู่ที่ราคาตับละ ประมาณ ๗ บาท บางท้องที่ขายประมาณตับละ ๑๕- ๒๐ บาทเลยทีเดียว แม้ราคา
ค่อนข้างจะสูงแต่ก็เป็นที่ต้องการของผู้คนจำนวนมาก โดยเฉพาะหน้าร้อนเช่นนี้ นอกจากหญ้าคาจะช่วยกันแดด กันฝนแล้ว มันยัง
จะช่วยกันความร้อนจากแสงแดดได้ดีและให้ความเย็นสบายได้มากทีเดียว ผู้คนส่วนมากตามชานเมือง และในชนบทจึงนิยมนำ
หญ้าคาไปสร้างเป็นกระท่อมน้อยข้างบ้าน ไว้สำหรับนอนเล่น นั่งเล่นสนทนากันพูดคุยกันในช่วงภาคเที่ยงและภาคบ่าย เพราะช่วง
เวลาดังกล่าวจะมีอากาศที่ร้อนอบอ้าว ซึ่งหญ้าคาก็จะช่วยกำจัดความร้อนได้ค่อนข้างดี

    

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 457 คน กำลังออนไลน์