• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ba912eb2225f584ead0812abe7c5f412' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div>\n<span style=\"color: #999999\">\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"516\" width=\"516\" src=\"/files/u53509/60229.png\" border=\"0\" />\n</div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img height=\"100\" width=\"278\" src=\"/files/u53509/Untitled-1.png\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">ชื่อวิทยาศาสตร์ : Plerocarpus Indicus<br />\nชื่อวงศ์ : FABACEAE<br />\nชื่อสามัญ : Padauk<br />\nชื่ออื่นๆ : Burmese Rosewood, ประดู่ , ดู่บ้าน , สะโน (ภาคใต้)<br />\nถิ่นกำเนิด : ประเทศอินเดีย<br />\nการขยายพันธุ์ : เพาะเมล็ด<br />\nประวัติและข้อมูลทั่วไป : ประดู่เป็นพรรณไม้ของอินเดีย ชอบแสงแดดจัดดังนั้นจึงเห็นปลูกกันตามริมถนนใน กทม. ทั่วไป</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img height=\"395\" width=\"300\" src=\"/files/u53509/IMG03201-20110909-1643.jpg\" />\n</p>\n<p>\nแหล่งที่มาของภาพ : โดย นางสาว เพลินตา สิริเริงสุข\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img height=\"100\" width=\"278\" src=\"/files/u53509/Untitled-2.png\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #999999\"><i><b>ประดู่</b></i> เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีลำต้นสูงประมาณ 25 เมตร ใบจะออกรวมกันเป็นช่อ<br />\nลักษณะของใบเป็นรูปมนรี ปลายใบแหลม ถ้าขึ้นในที่แล้งจะผลัดใบก่อนออกดอก <br />\nดอกออกเป็นช่อมีสีเหลืองสดลักษณะคล้ายดอกถั่ว โคนกลีบเลี้ยงกลีบดอกติดกันเป็นกรวยโค้งเล็กน้อย <br />\nกลีบดอกมี 5 กลีบ มีขนาดดอกเล็ก ขณะดอกย่อยบานมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาร 0.5- 1 ซม. <br />\nดอกบานไม่พร้อมกัน มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ดอกที่ใกล้โรยจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอมน้ำตาล ฤดูดอกบานอยู่ในช่วง เดือนพฤษภาคมถึงสิงหาคม</span>\n</p>\n<p>\n<img height=\"366\" width=\"400\" src=\"/files/u53509/32_0.jpg\" />\n</p>\n<p>\nแหล่งที่มาของภาพ : <a href=\"http://gotoknow.org/file/sasinanda/GoldenTrumpet.jpg\">http://gotoknow.org/file/sasinanda/GoldenTrumpet.jpg</a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div align=\"center\">\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img height=\"100\" width=\"278\" src=\"/files/u53509/Untitled-3.png\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"><b><i><u>ประดู่ </u></i></b>เป็นไม้กลางแจ้งต้องการแสงแดดจัด ความชื้นสูง ต้องการน้ำปานกลาง สามารถขึ้นได้ในดินทุกชนิด<br />\nแต่จะให้ดีควรเป็นดินร่วนซุยการเป็นมงคลคน ไทยโบราณเชื่อว่า บ้านใดปลูกต้นประดู่ไว้ประจำบ้านจะทำให้เกิดพลังแห่งความยิ่งใหญ่เพราะ<br />\nประดู่ คือ ความพร้อม ความร่วมือ ร่วมใจสามัคคี มีพลังเป็ฯอันหนึ่งอันเดียวกัน<br />\nนอกจากนี้ดอกของประดู่ยังมีลักษณะที่ระดมกันบานเต็มต้นดูลานตา<br />\nดังนั้นคนโบราณจึงได้เลือกเอาต้นประดู่เป็นไม้ประจำกอง กองทัพเรือ และคนไทยโบราณยังเชื่ออีกว่า<br />\nส่วนของแก่นไม้ยังใช้เป็นศิลปะการดนตรี ที่สำคัญของคนพื้นเมืองในสมัยโบราณอีกด้วย<br />\nคือใช้ทำเป็นเครื่องเสียงพวกระนาด นั่นก็หมายถึง ความแข็งแกร่ง แข็งแรงการเตรียมพื้นที่ การปลูก และการดูแลรักษา<br />\nในการเตรียมพื้นที่จะเตรียมให้ดีมากน้อยขึ้นกับวัตถุประสงค์สภาพพื้นที่และค่าใช้จ่ายในการปลูก ดังนี้</span> </span>\n</p>\n<p>\n<img height=\"333\" width=\"250\" src=\"/files/u53509/79.jpg\" /><img height=\"333\" width=\"250\" src=\"/files/u53509/CIMG6892_copy.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<b>แหล่งที่มาของภาพ : โดย นางสาว เพลินตา สิริเริงสุข </b>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">1. การปลูกด้วยกล้า วิธีนี้จะให้ผลดีมีอัตราการรอดตามสูงช่วงเวลาที่เหมาะสมในการย้ายกล้าไปปลูก <br />\nคือ ต้นฤดูผนกล้าที่ปลูกจะมีช่วงเวลารับน้ำฝนนานก่อนจะถึงฤดูแล้ง จึงทำให้อัตราการรอดตายสูง </span></p>\n<p><span style=\"color: #999999\">2.ระยะ ปลูกที่เหมาะสม ประดู่เป็นไม้ป่าที่มีค่าทางเศรษฐกิจส่วนใหญ่ต้องการไม้ขนาดใหญ่ <br />\nไปใช้ประโยชน์ในรูปแบบไม้แปรรูปต่าง ๆ ระยะปลูกที่เหมาะสม คือ 2X 4 หรือ 4 X 4 เมตร ไม่กว้างหรือแคบจนเกินไป <br />\nระยะปลูกแคบจะช่วยให้ต้นไม้มีรูปทรงดี ลิดกิ่งตามธรรมชาติหรือแตกกิ่งก้านค่อนข้างน้อย เนื้อไม้มีแผลเป็นน้อยใช้แปรรูปได้ดีปริมาณมาก <br />\nสำหรับการปลูกป่าในระบบวนเกษตร ระยะปลูกควรจะต้องกว้าง เช่น 2 X 8เมตร หรือ 4 X 4 เมคร <br />\nเพื่อความสะดวกในการปฏิบัติงานและใช้ช่วงระหว่างต้นไม้ เพื่อปลูกพืชเกษตรได้ดีด้วย</span></p>\n<p><span style=\"color: #999999\">3.การปลูกผสมกับไม้ชนิดอื่น การปลูกไม้ใช้สอยเพื่อวัตถุประสงค์ต่าง ๆ จะมีทั้งไม้โตช้าและโตเร็ว <br />\nไม้ประดู่จัดเป็นไม้โตช้ามีคุณค่าทางเศรษฐกิจที่ปลูกร่วมกับไม้โตเร็วชนิด อื่นได้ เช่น ไม้ยูคาลิปตัสหรือสะเดา <br />\nเพื่อผลิตไม้ซุงหรือไม้ใช้ก่อสร้างขนาดเล็ก และปลูกผสมกับไม้โตเร็วตระกูลถั่ว เช่น กระถินยักษ์ กระถินณรงค์หรือกระถินเทพา <br />\nเพื่อผลิตฟืนและถ่าน ซึ่งจะช่วยเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดิน และยังเป็นการลดการเช้าทำลายของโรคและแมลงอีกด้วย</span></p>\n<p><span style=\"color: #999999\">4. การปลูกประดู่ด้วยเหง้า การปลูกด้วยเหง้า เพื่อลดค่าใช้จ่ายในการปลูกสวนป่า <br />\nโดยเฉพาะการขนส่งและการปลูก จากการทดลองปลูกไม้ประดู่ด้วยเหง้า ปรากฎว่าได้ผลดี <br />\nมีอัตราการรอดตายอยู่ในเกณฑ์น่าพอใจ แม้ว่าจะต่ำกว่าการปลูกด้วยกล้า ส่วนการเติบโตไม่แตกต่างกันแต่อย่างใด <br />\nการเตรียมเหง้าประดู่ คือการเตรียมดิน ยกแปลงเพื่อเพาะเมล็ดแล้วย้ายกล้าที่เพาะลงในแปลที่เตรียมไว้ <br />\nระยะห่างระหว่างกล้าที่ชำ 10 x 10 ซม. การบำรุงรักษาแปลงมีการรดน้ำถอนวัชพืช พ่นยาฆ่าแมลงตามความจำเป็น <br />\nเมื่อกล้าไม้มีอายุประมาณ 1ปี จึงถอนมาตัดแต่งให้ความยาวของส่วนเหนือคอรากประมาณ 2.5 ซม. ริดรากแขนงออกให้หมด <br />\nขนาดเหง้าที่เหมาะสมควรมีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 0.6-1.2 ซม. ขนาดเหง้าที่ใหญ่กว่าไม่ทำให้มีอัตรารอดตายหรือเติบโตสูงขึ้น <br />\nความยาวของเหง้าควรประมาณ 15 ซม. ซึ่งสะดวกในการปลูกและการรวมมัด</span></p>\n<p><span style=\"color: #999999\">5. การปลูกไม้ประดู่ด้วยกล้าเปลือยราก คล้ายวิธีการปลูกด้วยเหง้านอกจากจะลดค่าใช้จ่าย <br />\nในแต่ละขั้นตอนการปลูกแล้วกล้าเปลือยรากจะมีน้ำหนักเบาและใช้คนเดียวขนกล้า ไปปลูกได้การเตรียมกล้าเปลือยราก <br />\nจะเพาะเมล็ดในแปลงกลางแจ้ง และย้ายชำลงแปลงให้ต้นห่างกัน 15 เซนติเมตร <br />\nทำการตัดรากอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้กล้ามีระบบรากสมบูรณ์ เมื่อกล้าไม้ มีอายุ 7 - 8 เดือนก็ถอนไปปลูกได้ <br />\nการเตรียมอีกวิธีหนึ่งจะเลี้ยงกล้าในถุง เมื่ออายุ 7 - 8 เดือน ก็เอาดินในถุงออก และควรจะทำในวันเดียวกันการนำไปปลูกจะ<br />\nให้อัตราการรอดตายสูง และอัตราการเจริญเติบโตไม่ต่างจากกล้าถุงดินปลูก ข้อสำคัญของ<br />\nการปลูกวิธีนี้จะต้องมีการจัดการพัฒนาระบบรากกล้าไม้ให้ดีและมี ขนาดความโต และความสูงของต้นที่เหมาะสม6. <br />\nการปลูกไม้ประดู่ในฤดูแล้ง มีประโยชน์ในการขยายช่วงเวลาให้กล้าได้ ตั้งตัวหลังปลูกจนถึงฤดูฝน ความสะดวกใน การขนส่งต่าง ๆ และหาแรงงานได้ง่าย สิ่งสำคัญจะต้องหาวิธีการที่ดีในการเตรียมกล้าและปลูกให้ประสบความสำเร็จดี ยิ่ง คือกล้าไม้ควรเป็นกล้า<br />\nค้างปีอายุประมาณ 16 เดือนก่อนนำไปปลูกจะฉีกเฉพาะก้นถุง ให้รากเจริญลงดินได้ขนาดหลุม 25X25X25 เซนติเมตร <br />\nเมื่อปลูกแล้วพรวนดินกลบเป็น แอ่งเล็กน้อย ถ้าปลูกในทุ่งหญ้าคาในลักษณะ เจาะช่องปลูก จะได้ร่มเงารอบ ๆ <br />\nแต่เมื่อถึงฤดูฝนต้องหญ้าออกทันที จากการทดลองปลูกไม้ประดู่วิธีนี้โดยไม่มีฝนตกเลย 32 วัน อัตรารอดตายเฉลี่ยประมาณ<br />\nร้อยละ 90 คือ ไม้ประดู่ สามารถทนแล้งได้ 1 เดือน และ ยังพบอีกว่า อัตรารอดตาย <br />\nและการเจริญเติบโตไม่แตกต่างกับการปลูกในช่วงต้น ฤดูฝนแต่อย่างใด</span></p></div></span>\n\n<p>\n<img height=\"400\" width=\"300\" src=\"/files/u53509/IMG03206-20110909-1644_______.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<b>แหล่งที่มาของภาพ : โดย นางสาว เพลินตา สิริเริงสุข </b>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img height=\"100\" width=\"278\" src=\"/files/u53509/Untitled-4.png\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">1. การกำจัดวัชพืช<u> </u>ควร ทำในฤดุการเจริญเติบโตของกล้าไม้หลังจากได้รับน้ำฝนเต็มที่<br />\nเพื่อให้กล้าไม้พ้นจากการแก่งแย่งของวัชพืช ถ้าวัชพืชปกคลุมกล้าหนาแน่น จะทำทั่วทั้งพื้นที่ด้วยเครื่องจักรและแรงคน <br />\nและถ้าวัชพืชไม่หนาแน่นมากนัก จะใช้วิธีถางเป็นวงกลม รอบต้นอักวิธีหนึ่งคือการถางระหว่างแนวปลูกโดยเครื่องจักรกล <br />\nระยะปลูกไม่ควรต่ำกว่า 2 X 4 เมตร เพื่อความสะดวกของเครื่องจักรกลเข้าไทำงาน การกำจัดวัชพืชครั้งต่อไป <br />\nชนิดไม้ที่ปลูกและงบประมาณดำเนินการไม้ประดู่ควรทำ 2-3 ครั้ง หลังปลูกก็พอ</span></span></p>\n<p><span style=\"color: #999999\">2. การปลูกซ่อม หลังการปลูกควรติดตามว่า มีกล้าไม้ตายมากน้อยเพียงใด แล้วรีบปลูกซ่อมให้เต็มพื้นที่ <br />\nและควรทำหลังจากการถางวัชพืชครั้งแรก เพื่อให้กล้าปลูกใหม่เจริญเติบโตสม่ำเสมอ กับกล้าปลูกครั้งแรก<br />\n</span><br />\n<span style=\"color: #999999\">3. การให้ปุ๋ย เพื่อเร่งการเจริญเติบโตของกล้าปลูกใหม่ให้พ้นจากวัชพืช โดยเร็วและเป็น <br />\nการเพิ่มผลผลิตไม้ในสวนป่าด้วย ถ้าพื้นที่ดินไม่ดีปุ๋ยสูตรเสมอ 15:15:15 จะช่วยให้ไม้ประดู่มีอัตราการรอดตาย <br />\nและการเจริญเติบโตทั้งความสูงที่ดีกว่าถ้าไม่ใส่ปุ๋ยหรือใส่ปุ๋ยสูตรที่มี ธาตุอาหารในธาตุหนึ่งไม่ครบ วิธีการใส่ปุ๋ยจะทำหลังปลูก 1 เดือน <br />\nในปริมาณ 50 กรัม ต่อต้น (1 ช้อนแกง) ใส่ดินลึกประมาณ 5 เซนติเมตร ห่างจากโคนต้น 30 เซนติเมตร <br />\nจะช่วยการเจริญเติบโตของไม้ประดู่หลังปลูกได้ดี<br />\n</span><br />\n<span style=\"color: #999999\">4. การป้องกันไฟ ควรทำแนวกันไฟกว้างประมาณ 10-15 เมตร รอบแปลงสวนป่า <br />\nเพื่อป้องกันทั้งไฟภายนอกหรือจากการเผาไร่ไม่ให้ลุกลามเข้ามา ถ้ามีการกำจัดวัชพืชดีจะช่วยลดปัญหา<br />\nไฟเป็นอย่างดีหากมีการตัดถนนเมื่อเริ่ม ปลูกป่าก็จะ ใช้เป็นทางตรวจการและแนวกันไฟไปใน ตัวด้วย แ<br />\nต่ถ้ามีการปลูกสวนป่า ผืนใหญ่ก็ อาจจะทำแนวกันไฟภายในแบ่งเป็นแปลง ย่อย ๆ เพิ่มขึ้น<br />\n</span><br />\n<span style=\"color: #999999\">5.การป้องกันโรคแมลงและสัตว์เลี้ยง ปัจจุบันการปลูกประดู่ ยังไม่พบความเสียหายที่เกิดจากโรคแมลง <br />\nการป้องกันโดยทั่วไปจะทำความสะอาดสวน และกำจัดวัชพืช หรืออีกวิธีหนึ่งจะปลูกพันธุ์ไม้หลายชนิดในสวนป่า <br />\nส่วนสัตว์กัดแทะจะป้องกันโดยใช้ยาเบื่อหรือกับดัก <br />\nและถ้ามีสัตว์เลี้ยงเข้ามาทำลายต้นไม้ที่ปลูกก็จะต้องลงทุนทำรั้วรอบสวนป่าเมื่อเริ่มปลูก<br />\n</span><br />\n<span style=\"color: #999999\">6. การตัดแต่งกิ่งไม้ประดู่โดยทั่วไปจะลิดกิ่งเมื่ออายุ 5 ปี เพื่อช่วยให้ลำต้นเปลาตรงการลิดกิ่งไม่ควรสูงเกิน 10 เมตร <br />\nเพราะจะทำได้ลำบาก วิธีลิดกิ่งจะใช้บันไดปีนขึ้นไปแล้วเลื่อยกิ่งด้วยเลื่อยมือติดลำต้นและอย่า<br />\nให้มีแผลฉีกขาด เพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายแก่ต้นประดู่</span></p>\n<p><span style=\"color: #999999\">7. การตัดสางขยายระยะ จะช่วยให้เกิดความเจริญเติบโตของขนาดลำต้น คือเริ่มแรก <br />\nปลูกระยะแคบเพื่อบังคับให้ลำต้นเจริญเติบโคทางความสูงและเปลาตรง เมื่อเห็นว่า <br />\nต้นประดู่เบียดชิดกันมากจะตัดสางขยายระยะระหว่างต้นออกซึ่งกระทำเมื่ออายุ 10 ปี โดยตัดต้นเว้นต้น <br />\nครั้งต่อไปก็อาจจะทำตามความเหมาะสม หรืออาจจะเลือกตัดต้นที่มีลักษณะไม่ดีออกก็ได้</span><span style=\"color: #999999\"> <img height=\"1\" width=\"1\" src=\"/\" border=\"0\" /></span>\n</p>\n<p>\n<img height=\"400\" width=\"300\" src=\"/files/u53509/IMG03203-20110909-1643_______.jpg\" /> <img height=\"400\" width=\"300\" src=\"/files/u53509/IMG03207-20110909-1644_______.jpg\" />\n</p>\n<p>\n<b>แหล่งที่มาของภาพ : โดย นางสาว เพลินตา สิริเริงสุข</b>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n</div>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img height=\"100\" width=\"278\" src=\"/files/u53509/Untitled-5.png\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">เนื้อไม้ ต้มกินแก้ไข้ เสมหะ เลือดกำเดาไหล ใบอ่อนใช้พอกแผลให้แห้งเร็ว แก้ผดผื่นคัน ยางไม้ แก้โรคท้องเสีย เนื้อไม้ประดู่นำไปใช้ในงานก่อสร้างทั้งภายในและภายนอกอาคาร เป็นไม้เนื้อแข็งที่มีความทนทานสูง เนื้อไม้มีสีสวยงาม สีแดงอมเหลืองถึงสีแดงอิฐเข้ม มีเส้นสีแก่กว่าสีพื้น เสี้ยนสนเป็นริ้วไสกบตบแต่งชักเงาได้ดี จากการเปรียบเทียมกับไม้สักที่ประเทศพม่าพบว่าไม้ประดู่มีความแข็ง (hardness) มากกว่าไม้สัก 2 เท่า และหนักกว่าร้อยละ 24 ค่าความแข็ง 925 กก.และมีความทนทานตามธรรมชาติ (การทดลองฝังดิน) เฉลี่ย 14 ปี ดังนั้นการใช้ไม้ประดู่ในการก่อสร้างจึงเป็นไปอย่างกว้างขวาง ตลอดจนการทำเฟอร์นิเจอร์เครื่องมือเครื่องใช้ ส่วนไม้ขนาดเล็กใช้ทำไม้ปาร์เก้ ไม้ประสานแผ่นชิ้นไม้อัด แผ่นไม้ชุบซีเมนต์ได้ฟืนและถ่านไม้ประดู่ให้ความร้อน 5,022 และ 7,539 แคลอรี่ต่อกรัมตามลำดับ เปลือกไม้ประดู่ใช้ย้อมผ้าได้และให้น้ำฝาดสำหรับฟอกหนังแก่นให้สีดำคล้ำใช้ ย้อมผ้า</span>\n</p>\n<p>\n<iframe width=\"560\" frameBorder=\"0\" src=\"http://www.youtube.com/embed/YRcro5LSyvw\" height=\"345\"></iframe>\n</p>\n<p>\nแหล่งที่มา : <a href=\"http://youtu.be/YRcro5LSyvw\" title=\"http://youtu.be/YRcro5LSyvw\">http://youtu.be/YRcro5LSyvw</a>\n</p>\n<p>\n<img height=\"100\" width=\"278\" src=\"/files/u53509/Untitled-6.png\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"color: #999999\">Padu is a big, round wooden canopy. Strength to prevent wind and soil.<br />\nProvide shade and moist soil with rain water, reduce the impact of the system at the root. Spread wide and deep. As well as the canopy.<br />\nIt allows the wood to soil erosion and root-knot is a big help to fix nitrogen in the air.<br />\nStored in the form of nitrogen that are useful as well. When the leaves fall density decay.<br />\nAdd nutrients to the soil organic matter significantly. </span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span onmouseout=\"this.style.backgroundColor=\'#fff\'\" title=\"ชื่อวิทยาศาสตร์ Plerocarpus Indicus\" onmouseover=\"this.style.backgroundColor=\'#ebeff9\'\"><span style=\"color: #999999\"><b>Scientific name</b> Plerocarpus Indicus. <br />\n<b>A family</b> FABACEAE. <br />\n<b>Common names</b> Padauk. <br />\nOther names Burmese Rosewood, Du, Du house, Sano (South). <br />\n<b>Native</b> to India. <br />\n<b>Seed</b> propagation. <br />\n<b>History and general information.</b> <br />\nDu is a species of India. Like the sun, so I planted along the streets of Bangkok this topic. <br />\n</span><span style=\"color: #999999\"><b>Botanical characteristics. <br />\n</b>Du is a large perennial plants. About 25 meters tall with leaves that are combined into clusters. The leaves are rounded at the end of the peninsula if the tree is deciduous in the dry season before flowering. A bouquet of flowers with yellow pea-like flowers. The base of the petals, sepals and petals are slightly curved cone with 5 petals with small flowers. While blooming flowers, a 0.5 to 1 cm in diameter, the devil is not ready to bloom. Lightly fragrant. I sprinkled it is closer to yellow brown. During the flowering season. May to August.</span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b>แหล่งอ้างอิง : </b><a href=\"http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B9%88\"><b>http://www.panyathai.or.th/wiki/index.php/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%94%E0%B8%B9%E0%B9%88</b></a><br />\n<b>แหล่งอ้างอิง :</b><br />\n<a href=\"http://kalokwan70.blogspot.com/\"><b>http://kalokwan70.blogspot.com/</b></a>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<img height=\"354\" width=\"440\" src=\"/files/u53509/map1_0.jpg\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<img height=\"100\" width=\"278\" src=\"/files/u53509/Untitled-7.png\" border=\"0\" /> <b></b>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><b>1. วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี</b></span> <span style=\"color: #ff0000\"></span><span style=\"color: #ff0000\"></span><span style=\"color: #999999\"></span><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"></span></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">ชื่อวิทยาศาสตร์ : Plerocarpus Indicus<span style=\"color: #999999\"></span></span><span style=\"color: #999999\"></span></span></span><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"></span></span></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">ชื่อวงศ์ : FABACEAE</span><span style=\"color: #999999\"></span></span><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"></span></span></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">ชื่อสามัญ : Padauk</span><span style=\"color: #c0c0c0\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"></span></span></span></span><span style=\"color: #999999\"></span><span style=\"color: #c0c0c0\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"></span></span></span></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #c0c0c0\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">ชื่ออื่นๆ : Burmese Rosewood, ประดู่ , ดู่บ้าน , สะโน (ภาคใต้)</span></span></span></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #999999\">ถิ่นกำเนิด : ประเทศอินเดีย</span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #c0c0c0\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"></span></span></span></span></p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #c0c0c0\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">การขยายพันธุ์ : เพาะเมล็ด</span></span></span></span></span>\n</div>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><b>2. วิชาอังกฤษ</b></span><span style=\"color: #999999\"></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">Botanical characteristics</span><span style=\"color: #c0c0c0\"></span></span></span></span>\n</div>\n<div align=\"center\">\n<span style=\"color: #999999\">Du is a large perennial plants. About 25 meters tall with leaves that are combined into clusters. The leaves are rounded at the end of the peninsula if the tree is deciduous in the dry season before flowering. A bouquet of flowers with yellow pea-like flowers. The base of the petals, sepals and petals are slightly curved cone with 5 petals with small flowers. While blooming flowers, a 0.5 to 1 cm in diameter, the devil is not ready to bloom. Lightly fragrant. I sprinkled it is closer to yellow brown. During the flowering season. May to August. </span>\n</div>\n<p><span style=\"color: #999999\"></span></p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p><span style=\"color: #999999\"></span></p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<p><span style=\"color: #c0c0c0\"><span title=\"ชื่อวิทยาศาสตร์ Plerocarpus Indicus\"><span style=\"color: #999999\"></span></span></span></p>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><b> 3. วิชาคณิตศาสตร์ </b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\">การคำนาณพื้นที่ในการเพาะปลูก</span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #ff0000\">4. วิชาภาษาไทย </span></b>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #c0c0c0\"><span style=\"color: #008080\"><span style=\"color: #999999\"><b>กลอนต้นประดู่</b></span><br />\n</span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><b><span style=\"color: #c0c0c0\">  เหลืองอร่าม                 งามประดูู่                   น่าดูนัก</span></b> </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #c0c0c0\"></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><b>ดอกน่ารัก                          พรักพร้อมเพรียบ             ใครเทียบได้</b> </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #c0c0c0\"></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\">  <b>เล็กละเอียด                  เบียดอัดอยู่              </b><b>ดูยองใย</b></span><span style=\"color: #999999\"><b>   </b></span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #c0c0c0\"></span><span style=\"color: #c0c0c0\"></span></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #c0c0c0\"><b>เหลืองสุกใส                        ในแสงทอง                 สาดส่องมา </b></span></span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b><span style=\"color: #ff0000\">5. วิชาการงานอาชีพ </span></b>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\">การเพราะปลูกต้นประดู่และการดูแลรักษา </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><b>6. วิชาสุขศึกษาและพละศึกษา </b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\"></span><span style=\"color: #c0c0c0\">ประโยชน์ของต้นประดู่ : <span style=\"color: #999999\"><span style=\"color: #999999\">เนื้อไม้ ต้มกินแก้ไข้ เสมหะ เลือดกำเดาไหล ใบอ่อนใช้พอกแผลให้แห้งเร็ว แก้ผดผื่นคัน ยางไม้ แก้โรคท้องเสีย</span></span> </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><b>7. วิชาศิลปะ </b></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\">การตกแต่งเนื้อหา การทำแบนเนอร์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\">การไล่สีของแบบนเนอร์<b> </b></span>\n</p>\n<p><b></b></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff0000\"><b>8. วิชาสังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม</b> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #c0c0c0\">ความเป็นมาของต้นประดู่และถิ่นกำเนิดของประดู่ </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n<div align=\"center\">\n</div>\n</div>\n<p>\n\n</p>', created = 1727557424, expire = 1727643824, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ba912eb2225f584ead0812abe7c5f412' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ต้นประดู่:แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

รูปภาพของ sss28092

 

 

 

 

 

 

ชื่อวิทยาศาสตร์ : Plerocarpus Indicus
ชื่อวงศ์ : FABACEAE
ชื่อสามัญ : Padauk
ชื่ออื่นๆ : Burmese Rosewood, ประดู่ , ดู่บ้าน , สะโน (ภาคใต้)
ถิ่นกำเนิด : ประเทศอินเดีย
การขยายพันธุ์ : เพาะเมล็ด
ประวัติและข้อมูลทั่วไป : ประดู่เป็นพรรณไม้ของอินเดีย ชอบแสงแดดจัดดังนั้นจึงเห็นปลูกกันตามริมถนนใน กทม. ทั่วไป

 

แหล่งที่มาของภาพ : โดย นางสาว เพลินตา สิริเริงสุข

 

 


ประดู่ เป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ มีลำต้นสูงประมาณ 25 เมตร ใบจะออกรวมกันเป็นช่อ
ลักษณะของใบเป็นรูปมนรี ปลายใบแหลม ถ้าขึ้นในที่แล้งจะผลัดใบก่อนออกดอก
ดอกออกเป็นช่อมีสีเหลืองสดลักษณะคล้ายดอกถั่ว โคนกลีบเลี้ยงกลีบดอกติดกันเป็นกรวยโค้งเล็กน้อย
กลีบดอกมี 5 กลีบ มีขนาดดอกเล็ก ขณะดอกย่อยบานมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาร 0.5- 1 ซม.
ดอกบานไม่พร้อมกัน มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ดอกที่ใกล้โรยจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอมน้ำตาล ฤดูดอกบานอยู่ในช่วง เดือนพฤษภาคมถึงสิงหาคม

แหล่งที่มาของภาพ : http://gotoknow.org/file/sasinanda/GoldenTrumpet.jpg

 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 264 คน กำลังออนไลน์