• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2534d267178f0888baf33d67a83b116a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n                                                           ห้องนิทรรศการอาเซียน 331\n</p>\n<p>\n      <img height=\"338\" width=\"450\" src=\"/files/u54140/IMG01934-20110729-1114.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 287px; height: 192px\" />       <img height=\"338\" width=\"450\" src=\"/files/u54140/IMG01935-20110729-1114.jpg\" border=\"0\" style=\"width: 286px; height: 192px\" />\n</p>\n<p><span style=\"font-family: CordiaUPC-Identity-H; color: #231f20; font-size: medium\"><span style=\"font-family: CordiaUPC-Identity-H; color: #231f20; font-size: medium\"><span style=\"font-family: CordiaUPC-Identity-H; color: #231f20; font-size: medium\"><span class=\"style116\"><span style=\"font-size: large\"><strong><span style=\"font-family: Angsana New\"><u><span style=\"color: #3366ff\"><span class=\"style1201\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 14pt\">ความเป็นมาของอาเซียน</span></span><span style=\"font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></u></span></strong><strong><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #3366ff\"><span class=\"style1131\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 14pt\">อาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (</span></span><span class=\"style1131\"><span style=\"font-size: 14pt\">Assciation of Southeast Asian Nations <span lang=\"TH\">หรือ </span>ASEAN) <span lang=\"TH\">ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ(</span>The Bangkok Declaration ) <span lang=\"TH\">เมื่อวันที่ </span>8 <span lang=\"TH\">สิงหาคม </span>2510<span lang=\"TH\">โดยมีสมาชิกผู้ก่อตั้ง </span>5 <span lang=\"TH\">ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก-เฉียงใต้</span> <span lang=\"TH\">ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ ได้ลงนามใน</span>       </span></span></span></span></strong><span style=\"color: #3300ff; font-size: 14pt\"><br />\n<span class=\"style1131\"><strong><span style=\"font-family: Angsana New; color: #3366ff\">            “<span lang=\"TH\">ปฏิญญากรุงเทพฯ</span>” (Bangkok Declaration) <span lang=\"TH\">เพื่อจัดตั้งสมาคมความร่วมมือกันในการเพิ่มอัตราการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม การพัฒนาวัฒนธรรมในกลุ่มประเทศสมาชิก และการธำรงรักษาสันติภาพและความมั่นคง ในพื้นที่และเป็นการเปิดโอกาสให้คลายข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติของระดับภูมิภาคของประเทศต่างๆ ในเอเชีย ในเวลาต่อมาได้มี บูรไนดารุสซาราม</span>  (<span lang=\"TH\">เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่</span> 8 <span lang=\"TH\">มกราคม</span> 2527)<span lang=\"TH\">สาธารณรัฐสังคมคมนิยมเวียดนาม (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ </span>28 <span lang=\"TH\">กรกฎาคม </span>2538) <span lang=\"TH\">สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ </span>23 <span lang=\"TH\">กรกฎาคม </span>2540) <span lang=\"TH\">สหภาพพม่า</span> (<span lang=\"TH\">เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ </span>23 <span lang=\"TH\">กรกฎาคม </span>2540) <span lang=\"TH\">ราชอาณาจักรกัมพูชา</span> (<span lang=\"TH\">เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ </span>30 <span lang=\"TH\">เมษายน </span>2542) <span lang=\"TH\">ตามลำดับทำให้อาเซียนมีสมาชิกครบ</span> 10<span lang=\"TH\">ประเทศ</span>   </span></strong></span></span><span style=\"font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span><a name=\"2\" id=\"2\"></a><strong><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #3366ff\"><span class=\"style1181\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 14pt\"><u>วัตถุประสงค์หลัก</u></span></span><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 14pt\"> </span><span style=\"font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></span></strong><span style=\"font-size: 14pt\"><strong><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #3366ff\">                           <span lang=\"TH\">ปฏิญญากรุงเทพฯ ได้ระบุวัตถุประสงค์สำคัญ </span>7 <span lang=\"TH\">ประการของการจัดตั้งอาเซียน ได้แก่</span> <br />\n      1.  <span lang=\"TH\">ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี</span><br />\n           <span lang=\"TH\">วิทยาศาสตร์ และการบริหาร</span> <br />\n      2.  <span lang=\"TH\">ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค</span> <br />\n      3.  <span lang=\"TH\">เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค</span> <br />\n      4.  <span lang=\"TH\">ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี</span> <br />\n      5. <span lang=\"TH\">ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในรูปของการฝึกอบรมและการวิจัย และส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้</span><br />\n      6. <span lang=\"TH\">เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการค้า ตลอดจนการปรับปรุงการขนส่งและการคมนาคม</span><br />\n      7. <span lang=\"TH\">เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ</span>   <br />\n          <span lang=\"TH\">และองค์การระหว่างประเทศ</span><o:p></o:p></span></span></strong></span><strong><span style=\"color: #3300ff\"><span style=\"font-family: Angsana New\"><span style=\"color: #3366ff\"><span style=\"font-size: 14pt\">                        <span class=\"style1161\"><span lang=\"TH\">ตลอดระยะเวลา กว่า </span></span><span class=\"style1161\"><span>40<span lang=\"TH\">ปีที่มีการก่อตั้งอาเซียน ถือว่าได้ประสบความสำเร็จจนเป็นที่ยอมรับจากหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมืองเเละความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจและการพัฒนาด้านสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งประเทศไทยได้รับ ประโยชน์อย่างมากจากความร่วมือต่างๆของอาเซียน   ไม่ว่าจะเป็นประโยชน์จากการที่ภูมิภาค เป็นเสถียรภาพและสันติภาพ อันเป็นผลจากกรอบความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ ความร่วมือด้านสังคมและ วัฒนธรรม ซึ่งถ้าหากไม่มีความร่วมมือเหล่านี้แล้ว คงเป็นการยากที่จะพัฒนาประเทศ</span></span></span></span><span class=\"style1161\"><span lang=\"TH\" style=\"font-size: 14pt\">ได้โดยลำพัง</span></span></span><span class=\"style1161\"><span style=\"font-size: 14pt\"> </span></span></span></span></strong><span style=\"font-size: 14pt\"><o:p></o:p></span></span></span></span></span></span></p>\n', created = 1720423379, expire = 1720509779, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2534d267178f0888baf33d67a83b116a' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ห้องนิทรรศการอาเซียน 331

รูปภาพของ sss27983

                                                           ห้องนิทรรศการอาเซียน 331

             

ความเป็นมาของอาเซียนอาเซียนหรือสมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Assciation of Southeast Asian Nations หรือ ASEAN) ก่อตั้งขึ้นโดยปฏิญญากรุงเทพ(The Bangkok Declaration ) เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2510โดยมีสมาชิกผู้ก่อตั้ง 5 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก-เฉียงใต้ ได้แก่ ไทย อินโดนีเซีย มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และสิงคโปร์ ได้ลงนามใน       
            “ปฏิญญากรุงเทพฯ” (Bangkok Declaration) เพื่อจัดตั้งสมาคมความร่วมมือกันในการเพิ่มอัตราการเจริญเติบโต ทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม การพัฒนาวัฒนธรรมในกลุ่มประเทศสมาชิก และการธำรงรักษาสันติภาพและความมั่นคง ในพื้นที่และเป็นการเปิดโอกาสให้คลายข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติของระดับภูมิภาคของประเทศต่างๆ ในเอเชีย ในเวลาต่อมาได้มี บูรไนดารุสซาราม  (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ 8 มกราคม 2527)สาธารณรัฐสังคมคมนิยมเวียดนาม (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ 28 กรกฎาคม 2538) สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ 23 กรกฎาคม 2540) สหภาพพม่า (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ 23 กรกฎาคม 2540) ราชอาณาจักรกัมพูชา (เข้าเป็นสมาชิกตั้งแต่ 30 เมษายน 2542) ตามลำดับทำให้อาเซียนมีสมาชิกครบ 10ประเทศ   
วัตถุประสงค์หลัก                            ปฏิญญากรุงเทพฯ ได้ระบุวัตถุประสงค์สำคัญ 7 ประการของการจัดตั้งอาเซียน ได้แก่
      1.  ส่งเสริมความร่วมมือและความช่วยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม เทคโนโลยี
           วิทยาศาสตร์ และการบริหาร
      2.  ส่งเสริมสันติภาพและความมั่นคงส่วนภูมิภาค
      3.  เสริมสร้างความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจพัฒนาการทางวัฒนธรรมในภูมิภาค
      4.  ส่งเสริมให้ประชาชนในอาเซียนมีความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตที่ดี
      5. ให้ความช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ในรูปของการฝึกอบรมและการวิจัย และส่งเสริมการศึกษาด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
      6. เพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการค้า ตลอดจนการปรับปรุงการขนส่งและการคมนาคม
      7. เสริมสร้างความร่วมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องค์การ ความร่วมมือแห่งภูมิภาคอื่นๆ   
          และองค์การระหว่างประเทศ
                        ตลอดระยะเวลา กว่า 40ปีที่มีการก่อตั้งอาเซียน ถือว่าได้ประสบความสำเร็จจนเป็นที่ยอมรับจากหลายฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมืองเเละความมั่นคง ด้านเศรษฐกิจและการพัฒนาด้านสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งประเทศไทยได้รับ ประโยชน์อย่างมากจากความร่วมือต่างๆของอาเซียน   ไม่ว่าจะเป็นประโยชน์จากการที่ภูมิภาค เป็นเสถียรภาพและสันติภาพ อันเป็นผลจากกรอบความร่วมมือด้านการเมืองและความมั่นคง ความร่วมมือด้านเศรษฐกิจ ความร่วมือด้านสังคมและ วัฒนธรรม ซึ่งถ้าหากไม่มีความร่วมมือเหล่านี้แล้ว คงเป็นการยากที่จะพัฒนาประเทศได้โดยลำพัง 

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 447 คน กำลังออนไลน์