• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:89859c6b9564e755e17a522479765267' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"280\" width=\"280\" src=\"/files/u415/img.png\" border=\"0\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></div>\n<p>  </p>\n<p align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"225\" width=\"300\" src=\"/files/u415/102458666.gif\" border=\"0\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img height=\"384\" width=\"512\" src=\"/files/u415/555.jpg\" border=\"0\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nหอประชุมชั้น 7 อาคารเฉลิมพระเกียรติ จัดงานเทศน์มหาชาติ\n</p>\n<p align=\"center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p>ความเป็นมาของคำว่า “มหาชาติ” และเทศน์มหาชาติ<br />\n                   อันเวสสันดรชาดกนี้ คัมภีร์ธัมมบทขุททกนิกายกล่าวว่า เป็นพุทธดำรัสที่สมเด็จพระบรมศาสดาตรัสแก่ภิกษุสงฆ์ขีณาสพสองหมื่น และมวลหมู่พระประยูรญาติที่นิโครธารามมหาวิหาร ในนครกบิลพัสดุ์ในคราวเสด็จโปรดพระเจ้าสุทโธทนะพุทธบิดา และพระวงศ์ศากยะ เพราะปรารภฝนโบกขรพรรษให้เป็นเหตุจึงตรัสเวสสันดรชาดกในที่นี้<br />\nการเทศน์มหาชาติ เทศน์มหาชาติ คือ เทศนาเวสสันดรชาดก เป็นบุญพิธีที่นิยมจัดให้มีกันมาแต่โบราณ ส่วนมากจัดให้มีในวัดเป็นหน้าที่ของชาวบ้านและวัดนั้น ๆ จะตกลงร่วมกันจัด ปกตินิยมให้มีหลังฤดูทอดกฐิน ผ่านไปแล้วจนตลอดฤดูเหมันต์ นิยมจัดเป็นงานสองวัน คือ วันเทศน์เวสสันดรชาดกทั้ง ๑๓ กัณฑ์วันหนึ่ง และวันเทศน์จตุราริยสัจจกถา ท้ายเวสสันดรชาดกอีกวันหนึ่ง<br />\nวันแรกเริ่มงานด้วยพิธีทำบุญตักบาตรพระทั้งวัด หรือเลี้ยงพระตามจำนวนที่เห็นสมควร แล้วเริ่มเทศน์เวสสันดรชาดก ตามแบบเทศน์ต่อกันไปจนสุด ๑๓ กัณฑ์ ถึงเวลากลางคืนบางแห่งจัดปีพาทย์ประโคมระหว่างกัณฑ์หนึ่ง ๆ ตลอดทั้ง ๑๓ กัณฑ์ด้วย<br />\nวันรุ่งขึ้น ทำบุญเลี้ยงพระอีกแล้วมีเทศน์ จตุราริยสัจจกถาในระหว่างเพลจบแล้วเลี้ยงพระเพลเป็นอันเสร็จพิธี<br />\nระเบียบพิธีในการเทศน์มหาชาติ ที่นิยมกันเป็นหลักใหญ่ ๆ ดังนี้\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"240\" width=\"320\" src=\"/files/u415/TMC22_0285_0.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://www.suriyothai.ac.th/files/u6/TMC22_0285.jpg\">http://www.suriyothai.ac.th/files/u6/TMC22_0285.jpg</a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></div>\n<p>\n๑) ตกแต่งบริเวณพิธีให้มีบรรยากาศคล้ายอยู่ในบริเวณป่า ตามท้องเรื่องเวสสันดรชาดก โดยนำเอา ต้นกล้วย ต้นอ้อย และกิ่งไม้มาผูกตามเสา และบริเวณรอบ ๆ ธรรมาสน์ ประดับธงทิว และ ราวัติ ฉัตร ตามสมควร\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"199\" width=\"300\" src=\"/files/u415/TMC22_0122.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://www.suriyothai.ac.th/files/u6/TMC22_0122.jpg\">http://www.suriyothai.ac.th/files/u6/TMC22_0122.jpg</a>\n</div>\n<p>\n๒) ตั้งขันสาครใหญ่ หรือจะใช้อ่างใหญ่ที่สมควรก็ได้ใส่น้ำสะอาดเต็ม สำหรับปักเทียนบูชาประจำกัณฑ์ ในระหว่างที่พระเทศน์ น้ำในภาชนะที่ตั้งนี้เสร็จพิธีแล้ว ถือว่าเป็นน้ำพระพุทธมนต์ที่สำคัญ ภาชนะใส่น้ำนี้ตั้งหน้าธรรมาสน์ กลางบริเวณพิธี\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"199\" width=\"300\" src=\"/files/u415/TMC22_0116.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://www.suriyothai.ac.th/files/u6/TMC22_0116.jpg\">http://www.suriyothai.ac.th/files/u6/TMC22_0116.jpg</a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<iframe width=\"425\" frameBorder=\"0\" src=\"http://www.youtube.com/embed/zkGvzZghZN0\" height=\"349\"></iframe>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nที่มา : <a href=\"http://www.youtube.com/watch?v=zkGvzZghZN0\">http://www.youtube.com/watch?v=zkGvzZghZN0</a>\n</div>\n<p>\n๓) เตรียมเทียนเล็ก ๆ จำนวน ๑,๐๐๐ เล่ม แล้วนับแยกจำนวนเป็นมัด มัดหนึ่งมีจำนวนเท่าคาถาของกัณฑ์หนึ่ง แล้วทำเครื่องหมายไว้ให้ทราบ ว่ามัดไหนสำหรับบูชาคาถากัณฑ์ใด เมื่อถึงคราวเทศน์กัณฑ์นั้นก็จะเอาเทียนมัดนั้นออกจุดบูชาติดรอบ ๆ ภาชนะน้ำ ต่อกันไปจนจบกัณฑ์ให้หมดมัดพอดี ครบ ๑๓ กัณฑ์ถ้วน จำนวน ๑,๐๐๐ เล่ม เท่าจำนวนคาถา บางแห่งนิยมทำธงเล็ก ๆ ๑,๐๐๐ คัน แบ่งจำนวนเท่าคาถาประจำกัณฑ์เช่นอย่างเทียน แล้วปักธงบูชาระหว่างกัณฑ์บนหยวกกล้วย แต่การใช้ธงไม่เป็นที่นิยม เช่น เทียน การจุดเทียนหรือปักธงบูชากัณฑ์ดังกล่าวเป็นหน้าที่ของเจ้าภาพผู้รับกัณฑ์นั้น ๆ<br />\n การเทศน์เวสสันดร มีวิธีเทศน์เป็นทำนองโดยเฉพาะ จะต้องได้รับการฝึกอบรมศึกษาต่อท่านผู้ทรงคุณวุฒิทางนี้เป็นพิเศษ ส่วนการเทศน์จตุราริยสัจจกถา มีระเบียบพิธีอย่างเทศน์ในงานดังกล่าวแล้วข้างต้น<br />\nการเทศน์มหาชาติ คือการมหากุศลที่เตือนบุคคลให้น้อมรำลึกถึงการบำเพ็ญบุญ คือความดีที่ยิ่งยวด อันมีการสละความเห็นแก่ตัว เพื่อผลประโยชน์สูงอันไพศาลของมวลมนุษยชาติเป็นสำคัญเป็นเทศกาลที่คงความหมายอย่างแท้จริง<br />\nกัณฑ์ที่ ๑ ทศพร เป็นกัณฑ์ที่พระอินทร์ประสาทพรแก่พระนางผุสดี ก่อนที่จะจุติลงมาเป็นพระราชมารดาของพระเวสสันดร ภาคสวรรค์ พระนางผุสดีเทพอัปสรสิ้นบุญท้าวสักกะเทวราช สวามีทรงทราบจึงพาไปประทับยังสวนนันทวันในเทวโลก พร้อมให้พร ๑๐ ประการ คือให้ได้อยู่ในปราสาทของพระเจ้าสิริราชแห่งนครสีพี ขอให้มีจักษุดำดุจนัยน์ตาลูกเนื้อ ขอให้มีคิ้วดำสนิท ขอให้พระนามว่าผุสดี ขอให้มีโอรสที่ทรงเกียรติยศเหนือกษัตริย์ทังหลายและมีใจบุญ ขอให้มีครรภ์ที่ผิดไปจากสตรีสามัญคือแบนราบในเวลาทรงครรภ์ ขอให้มีถันงามอย่ารู้ดำและหย่อนยาน ขอให้มีเกศาดำสนิท ขอให้มีผิวงาม และข้อสุดท้ายขอให้มีอำนาจปลดปล่อยนักโทษได้\n</p>\n<p>\n<br />\nกัณฑ์ที่ ๒ หิมพานต์ เป็นกัณฑ์ที่พระเวสสันดรบริจาคทานช้างปัจจัยนาค ประชาชนสีพีโกรธแค้นจึงขับไล่ให้ไปอยู่เขาวงกต พระนางเทพผุสดีได้จุติลงมาเป็นราชธิดาของพระเจ้ามัททราช เมื่อเจริญชนม์ได้ ๑๖ ชันษา จึงได้อภิเษกสมรสกับพระเจ้ากรุงสญชัยแห่งสีวิรัฐนคร ต่อมาได้ประสูติพระโอรสนามว่า &quot;เวสสันดร&quot; ในวันที่ประสูตินั้นได้มีนางช้างฉัททันต์ตกลูกเป็นช้างเผือกขาวบริสุทธิ์จึงนำมาไว้ในโรงช้างต้นคู่บารมี ให้นามว่า &quot;ปัจจัยนาค&quot; เมื่อพระเวสสันดรเจริญชนม์ ๑๖ พรรษา ราชบิดาก็ยกราชสมบัติให้ครอบครองและทรงอภิเษกกับนางมัทรี พระราชบิดาราชวงศ์มัททราช มีพระโอรส ๑ องค์ชื่อ ชาลี ราชธิดาชื่อ กัณหา พระองค์ได้สร้างโรงทาน บริจาคทานแก่ผู้เข็ญใจ ต่อมาพระเจ้ากาลิงคะแห่งนครกาลิงครัฐได้ส่งพราหมณ์มาขอพระราชทานช้างปัจจัยนาค พระองค์จึงพระราชทานช้างปัจจัยนาคแก่พระเจ้ากาลิงคะ ชาวกรุงสัญชัย จึงเนรเทศพระเวสสันดรออกนอกพระนคร\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p>\nกัณฑ์ที่ ๓ ทานกัณฑ์ เป็นกัณฑ์ที่พระเวสสันดรทรงแจกมหาสัตสดกทาน คือ การแจกทานครั้งยิ่งใหญ่ ก่อนที่พระเวสสันดรพร้อมด้วยพระนางมัทรี ชาลีและกัณหาออกจากพระนคร จึงทูลขอพระราชทานโอกาสบำเพ็ญมหาสัตสดกทาน คือ การให้ทานครั้งยิ่งใหญ่ อันได้แก่ ช้าง ม้า โคนม นารี ทาสี ทาสา สรรพวัตถาภรณ์ต่างๆ รวมทั้งสุราบานอย่างละ ๗๐๐\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nกัณฑ์ที่ ๔ วนประเวศ เป็นกัณฑ์ที่สี่กษัตริย์เดินดงบ่ายพระพักตร์สู่เขาวงกต เมื่อเดินทางถึงนครเจตราชทั้งสี่กษัตริย์จึงแวะเข้าประทับพักหน้าศาลาพระนคร กษัตริย์ผู้ครองนครเจตราชจึงทูลเสด็จครองเมือง แต่พระเวสสันดรทรงปฎิเสธ และเมื่อเสด็จถึงเขาวงกตได้พบศาลาอาศรมซึ่งท้าววิษณุกรรมเนรมิตตามพระบัญชาของท้าวสักกะเทวราช กษัตริย์ทั้งสี่จึงทรงผนวชเป็นฤๅษีพำนักในอาศรมสืบมา\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nกัณฑ์ที่ ๕ ชูชก เป็นกัณฑ์ที่ชูชกได้นางอมิตดามาเป็นภรรยา และหมายจะได้โอรสและธิดาพระเวสสันดรมาเป็นทาส ในแคว้นกาลิงคะมีพราหมณ์แก่ชื่อชูชก พำนักในบ้านทุนวิฐะ เที่ยวขอทานตามเมืองต่างๆ เมื่อได้เงินถึง ๑๐๐ กหาปณะ จึงนำไปฝากไว้กับพราหมณ์ผัวเมีย แต่ได้นำเงินไปใช้เป็นการส่วนตัว เมื่อชูชกมาทวงเงินคืนจึงยกนางอมิตดาลูกสาวให้แก่ชูชก นางอมิตดาเมื่อมาอยู่ร่วมกับชูชก ได้ทำหน้าที่ของภรรยาที่ดี ทำให้ชายในหมู่บ้านเปรียบเทียบกับภรรยาตน หญิงในหมู่บ้านจึงเกลียดชังและรุมทำร้ายทุบตี นางอมิตดา ชูชกจึงเดินทางไปทูลขอกัณหาชาลีเพื่อเป็นทาสรับใช้ เมื่อเดินทางมาถึงเขาวงกตก็ถูกขัดขวางจากพรามเจตบุตรผู้รักษาประตูป่า\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p>\nกัณฑ์ที่ ๖ จุลพน เป็นกัณฑ์ที่พรานเจตบุตรหลงกลชูชก และชี้ทางสู่อาศรมจุตดาบส ชูชกได้ชูกลักพริกขิงแก่พรานเจตบุตรอ้างว่าเป็นพระราชสาสน์ของพระเจ้ากรุงสญชัย จึงได้พาไปยังต้นทางที่จะไปอาศรมฤๅษี\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nกัณฑ์ที่ ๗ มหาพน เป็นกัณฑ์ป่าใหญ่ ชูชกหลอกล่ออจุตฤๅษีให้บอกทางสู่อาศรมพระเวสสันดรแล้วก็รอนแรมเดินไพรไปหา เมื่อถึงอาศรมฤๅษี ชูชกได้พบกับอจุตฤๅษี ชูชกใช้คารมหลอกล่อจนอจุตฤๅษีจึงให้ที่พักหนึ่งคืนและบอกเส้นทางไปยังอาศรมพระเวสสันดร\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nกัณฑ์ที่ ๘ กัณฑ์กุมาร เป็นกัณฑ์ที่พระเวสสันดรทรงให้ทานสองโอรสแก่เฒ่าชูชก พระนางมัทรีฝันร้ายเหมือนบอกเหตุแห่งการพลัดพราก รุ่งเช้าเมื่อนางมัทรีเข้าป่าหาอาหารแล้ว ชูชกจึงเข้าเฝ้าทูลขอสองกุมาร สองกุมารจึงพากันลงไปซ่อนตัวอยู่ที่สระ พระเวสสันดรจึงลงเสด็จติดตามสองกุมาร แล้วจึงมอบให้แก่ชูชก\n</p>\n<p>\n<br />\nกัณฑ์ที่ ๙ กัณฑ์มัทรี เป็นกัณฑ์ที่พระนางมัทรีทรงได้ตัดความห่วงหาอาลัยในสายเลือด อนุโมทนาทานโอรสทั้งสองแก่ชูชก พระนางมัทรีเดินเข้าไปหาผลไม้ในป่าลึก จนคล้อยเย็นจึงเดินทางกลับอาศรม แต่มีเทวดาแปลงกายเป็นเสือนอนขวางทาง จนค่ำเมื่อกลับถึงอาศรมไม่พบโอรส พระเวสสันดรได้กล่าวว่านางนอกใจ จึงออกเที่ยวหาโอรสและกลับมาสิ้นสติต่อเบื้องพระพักตร์ พระองค์ทรงตกพระทัยลืมตนว่าเป็นดาบสจึงทรงเข้าอุ้มพระนางมัทรีและทรงกันแสง เมื่อพระนางมัทรีฟื้นจึงถวายบังคมประทานโทษ พระเวสสันดรจึงบอกความจริงว่าได้ประทานโอรสแก่ชูชกแล้ว หากชีวิตไม่สิ้นคงจะได้พบ นางจึงได้ทรงอนุโมทนา\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p>\n<p>\nกัณฑ์ที่ ๑๐ สักกบรรพ เป็นกัณฑ์ที่พระอินทร์จำแลงกายเป็นพราหมณ์มาขอพระนางมัทรี แล้วถวายคืนพร้อมถวายพระพร ๘ ประการ<br />\nท้าวสักกะเทวราชเสด็จแปลงเป็นพราหมณ์เพื่อทูลขอนางมัทรี พระเวสสันดรจึงพระราชทานให้ พระนางมัทรีก็ยินดีอนุโมทนาเพื่อร่วมทานบารมีให้สำเร็จพระสัมโพธิญาณ เป็นเหตุให้เกิดแผ่นดินไหวสะท้าน ท้าวสักกะเทวราชในร่างพราหมณ์จึงฝากนางมัทรีไว้ยังไม่รับไป ตรัสบอกความจริงและถวายคืนพร้อมถวายพระพร ๘ ประการ\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nกัณฑ์ที่ ๑๑ มหาราช เป็นกัณฑ์ที่เทพเจ้าจำแลงองค์ทำนุบำรุงขวัญสองกุมารก่อนเสด็จนิวัติถึงมหานครสีพี <br />\nเมื่อเดินทางผ่านป่าใหญ่ชูชกจะผูกสองกุมารไว้ที่โคนต้นไม้ ส่วนตนเองปีนขึ้นไปนอนต้นไม้ เหล่าเทพเทวดาจึงแปลงร่างลงมาปกป้องสองกุมาร จนเดินทางถึงกรุงสีพี พระเจ้ากรุงสีพีเกิดนิมิตฝันตามคำทำนายยังความปีติปราโมทย์ เมื่อเสด็จลงหน้าลานหลวงตอนรุ่งเช้าทอดพระเนตรเห็นชูชกพากุมารน้อยสององค์ ทรงทราบความจริงจึงพระราชทานค่าไถ่คืน ต่อมาชูชกก็ดับชีพตักษัยด้วยเพราะเดโชธาตุไม่ย่อย ชาลีจึงได้ทูลขอให้ไปรับพระบิดาพระมารดานิวัติพระนคร ในขณะเดียวกันเจ้านครลิงคะได้โปรดคืนช้างปัจจัยนาคแก่นครสีพี\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nกัณฑ์ที่ ๑๒ ฉกษัตริย์ เป็นกัณฑ์ที่ทั้งหกกษัตริย์ถึงวิสัญญีภาพสลบลงเมื่อได้พบหน้า ณ อาศรมดาบสที่เขาวงกต<br />\nพระเจ้ากรุงสญชัยใช้เวลา ๑ เดือน กับ ๒๓ วันจึงเดินทางถึงเขาวงกต เสียงโห่ร้องของทหารทั้ง ๔ เหล่า พระเวสสันดรทรงคิดว่าเป็นข้าศึกมารบนครสีพี จึงชวนพระนางมัทรีขึ้นไปแอบดูที่ยอดเขา พระนางมัทรีทรงมองเห็นกองทัพพระราชบิดาจึงได้ตรัสทูลพระเวสสันดรและเมื่อหกกษัตริย์ได้พบหน้ากันทรงกันแสงสุดประมาณ รวมทั้งทหารเหล่าทัพ ทำให้ป่าใหญ่สนั่นครั่นครืนท้าวสักกะเทวราชจึงได้ทรงบันดาลให้ฝนตกประพรมหกกษัตริย์และทวยหาญได้หายเศร้าโศก\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nกัณฑ์ที่ ๑๓ นครกัณฑ์ เป็นกัณฑ์ที่หกกษัตริย์นำพยุหโยธาเสด็จนิวัติพระนคร พระเวสสันดรขึ้นครองราชย์แทนพระราชบิดา<br />\nพระเจ้ากรุงสญชัยตรัสสารภาพผิด พระเวสสันดรจึงทรงลาผนวชพร้อมทั้งพระนางมัทรี และเสด็จกลับสู่สีพีนคร เมื่อเสด็จถึงจึงรับสั่งให้ชาวเมืองปล่อยสัตว์ที่กักขัง ครั้นยามราตรีพระเวสสันดรทรงปริวิตกว่า รุ่งเช้าประชาชนจะแตกตื่นมารับบริจาคทาน พระองค์จะประทานสิ่งใดแก่ประชาชน ท้าวโกสีห์ได้ทราบจึงบันดาลให้มีฝนแก้ว ๗ ประการ ตกลงมาในนครสีพีสูงถึงหน้าแข้ง พระเวสสันดรจึงทรงประกาศให้ประชาชนขนเอาไปตามปรารถนา ที่เหลือให้ขนเข้าพระคลังหลวง ในกาลต่อมาพระเวสสันดรเถลิงราชสมบัติปกครองนครสีพีโดยทศพิธราชธรรมบ้านเมืองร่มเย็นเป็นสุขตลอดพระชนมายุ\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"199\" width=\"300\" src=\"/files/u415/TMC22_0245.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<em>&lt;!--pagebreak--&gt;</em>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://www.suriyothai.ac.th/files/u6/TMC22_0245.jpg\">http://www.suriyothai.ac.th/files/u6/TMC22_0245.jpg</a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"199\" width=\"300\" src=\"/files/u415/TMC22_0154.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<a href=\"http://www.suriyothai.ac.th/files/u6/TMC22_0154.jpg\">http://www.suriyothai.ac.th/files/u6/TMC22_0154.jpg</a>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--></div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"224\" width=\"300\" src=\"/files/u415/lek2.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nถ่ายโดย ธนพร โศภาพรพรหม  ชั้น7 อาคารเฉลิมพระเกียรติ\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"401\" width=\"300\" src=\"/files/u415/lek1.jpg\" border=\"0\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong>  </strong>ถ่ายโดย ธนพร โศภาพรพรหม  ชั้น7 อาคารเฉลิมพระเกียรติ\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p></p></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><u><span style=\"color: #ff0000\">Jatakas</span></u></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #000000\">The Jatakas were originally amongst the earliest Buddhist literature, with metrical analysis methods dating their average contents to around the 4th century BCE.<span style=\"font-size: x-small\">&quot;<em>Jataka</em> Tales and Storytelling&quot; is a presentation at the Student  Life  Building, Northern Illinois University on 27 April 2001, sponsored by Center for Southeast Asian Studies, by Dr. Wajuppa Tossa, Prasong Saihong, and Phanida Phunkrathok.</span></span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"><strong><span style=\"color: #000000\">From the Buddha\'s analysis of human intelligence, I assume that &quot;the illustrations&quot; refer to stories he told to make his teaching points clear. Thus, we are grateful that there were quite a few average people in his time; otherwise, we might not have these great stories to tell.   Indeed, the <em>Jataka</em> book is one of the world\'s oldest and largest collection of folk tales.   However, when the Buddha gave illustrations, he would state that these were stories from his past lives. Thus, they are his life stories which have been called <i>Jataka</i> or <i>chadok</i>.</span> </strong></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #000040\"></span></strong>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #000040\"></span></strong>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<strong><span style=\"color: #000040\"></span></strong>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"><strong><u>\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p></p></u></strong></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"><strong><u></u></strong></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"><strong><u>เนิ้อหาสาระวิชาภาษาไทย</u></strong> </span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">รสวรรณคดีในเรื่องมหาเวสสันดรชาดก <br />\nคัมภีร์สุโพธาลังการและอลังการศาสตร์  แบ่งรสวรรณคดีออกเป็น ๙ รส  ได้แก่<br />\n ๑.  รติ (ศฤงคารรส)         ยินดี  รัก พอใจ</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">๒.  หาสะ (หาสยะรส)      ขบขัน  หัวเราะ ยิ้ม</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">๓.  โสกะ (กรุณารส)       โศกเศร้า  ร้องไห้  สงสาร</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"> ๔.  โกธะ (รุทธรส)          โกรธ  ไม่พอใจ  ขัดเคือง</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">๕.  อุสฺสาหะ (วีรรส)        หมั่น  บากบั่น กล้าหาญ  ในการรบ  การให้ และการช่วยเหลือ</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">๖.  ภยะ (ภยานกรส)        กลัว  หวาดเสียว  ขนลุก<br />\n ๗.  ชิคุจฺฉา (พีภัตสรส)     เกลียด  ขยะแขยง หมั่นไส้</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"> ๘.  วิมฺหยา (อัพภูตรส)     ตื่นเต้น  พิศวง ประหลาดใจ  หลากใจ</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">                ๙.  สมะ (ศานติรส)          สงบ  หยุด</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">                รสวรรณคดีทั้ง ๙ รสนั้นเป็นดังแว่นส่องให้เห็นรสนิยมว่า แม้หนังสือจะมีรสชาติดีสักเพียงใดแต่เมื่อบุคคลผู้อ่านผู้ฟังเข้าไม่ถึงก็จะไม่รู้รส  เหมือนอาหารถึงจะมีรสดีเพียงใด  ถ้าลิ้นปราศจากความรู้สึกก็ไม่รู้รส  ดังที่ท่านผู้รู้ได้ประพันธ์ไว้เป็นคาถาว่า<br />\n                               </span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">\n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p> </p></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"> รติ  หาโส  จ โสโก  จ                             โกธุสฺสาหภยมฺปิ จ<br />\n                                ชิคุจฺฉา วิมฺหยา เจว                               สโม  จ  นว ฐายิโน<br />\n               </span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"> ๑. รติ(ศฤงคารรส) หรือรสรัก ตามศัพท์มุ่งหมายเอาความรักระหว่างหนุ่มสาวเป็นจุดใหญ่  เช่น การพรรณนาความสวยงาม ของสตรีหรือบุรุษที่รูปงามเสียงเพราะชวนให้น่ารัก น่ายินดี น่าอภิรมย์ชมชื่นในกัณฑ์ชูชกตอนชูชกยลโฉมอมิตตดาว่า </span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">                โส ชูชโก  วันนั้นชูชกเฒ่าชรา ตํ  ทิสฺวา เมื่อเห็นรูปเจ้าอมิตตดายุพเยาว์แรกรุ่นสุนทรเด็กดรุณี  แน่งน้อยหน้านวลฉวีวรรณเพริศพริ้งพรายชะชวยฉาดเฉิดฉายโฉมเฉลา ดั่งว่าพฤฒิโคเคาเฒ่าชราจร ครั้นว่าแลเห็นเหยื่อหญ้าอ่อนออกโอชโอษฐ์อ้าดังนี้เป็นต้น</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">               </span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"> ๒.  หาสะ(หาสยรส)  รสขัน ยิ้มแย้ม หัวเราะครื้นเครงสนุกสนาน  สามารถทำให้รู้สึกขันยิ้มกับรูปที่เห็น หนังสือที่อ่าน เสียงที่ได้ยิน ทำให้เพลิดเพลินสดชื่น ลืมทุกข์ดับกลุ้ม บรรเทาโกรธไปชั่วขณะ  เช่น นิทานชวนหัวและภาพการ์ตูนล้วนแต่เป็นเรื่องชวนให้สนุกเพลิดเพลินดับกลุ้มและคลี่คลายความตึงเครียดได้ในกัณฑ์ชูชกก็เป็นกัณฑ์ที่ตลกขบขันผู้ฟังจะได้รับความรื่นเริงบันเทิงใจมีอารมณ์สนุกสนานไปกับบทบาทของชูชก</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">               </span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"> ๓.  โสกะ(กรุณารส)  รสสงสาร  โศก เศร้าใจ ทำให้คนอ่านคนฟังใจเหี่ยวแห้งสลดถึงกับน้ำตาไหล นึกลำบากเวทนาบุคคลในท้องเรื่องเพราะเห็นความทุกข์ยากก็พลอยเป็นทุกข์ไปด้วย  เช่นในกัณฑ์กุมารและกัณฑ์มัทรี ผู้ฟังจะอดใจสงสารไม่ได้ทีเดียวต้องหลั่งน้ำตากันมามากต่อมากแล้ว</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">               </span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"> ๔.  โกธะ(รุทธรส)  รสโกรธ  ผิดใจ ไม่พอใจ ทำให้ผู้อ่านผู้ฟังฉุนเฉียว ขัดใจ เคืองใจในถ้อยคำ ในการกระทำของบุคคลในท้องเรื่องว่าไม่ชอบธรรมข่มเหง ดูหมิ่นเหยียดหยาม เสียศีลธรรมของสังคม ทนฟังทนดูด้วยความสงบอยู่ไม่ได้ต้องประนามด้วยถ้อยคำอันเผ็ดร้อนออกมาทันทีก็มี  รสชาติเช่นนี้หาได้ง่ายมาก  ด้วยเราเคยพบเคยเห็นเคยได้ยิน  แม้แต่เราก็เคยโกรธเหมือนกัน ในกัณฑ์หิมพานต์ชาวเมืองสีพีก็โกรธพระเวสสันดรถึงขนาดพากันเดินขบวนขับไล่ให้ออกจากเมือง</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">               </span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"> ๕.  อุสฺสาหะ(วีรรส)  รสกล้า  แกล้วกล้า อาจหาญ เอามาใช้เป็นสัญลักษณ์ของนักรบที่ไม่พรั่นพรึงเสียสละชีวิตต่อสู้เพื่อรักษาความเป็นธรรม  รักษาเกียรติยศชื่อเสียงเหมือนพระชาลีและพระกัณหาก้าวขึ้นมาจากสระบัวก็เพราะความกล้าและต้องการรักษาเกียรติยศชื่อเสียง</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">       \n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p>         </p></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">๖.  ภยะ(ภยานกรส)  รสกลัว  สะดุ้ง หวาดเสียวที่เกิดเพราะอ่าน ฟัง รู้เห็นทุกข์โทษของการทำบาป  ประพฤติทุจริต กลัวภัยในนรก  กลัวโรคติดต่อ  กลัวป่า กลัวน้ำท่วม กลัวลมพัด กลัวอดอยากกลัวภูตผีปีศาจ  ค่ำมืดไม่กล้าออกจากเรือน  แม้แต่เรือนก็ต้องปิดหน้าต่างที่สุดแม้แต่ลมพัดเย็นๆก็ขนลุกต้องหยุดอ่านหนังสือที่พรรณนาไว้น่ากลัวในกัณฑ์ชูชกตอนพรานเจตบุตรจะยิงชูชก ชูชกก็เกิดความสดุ้งกลัวเหมือนกัน </span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">                </span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">๗.  ชิคุจÚฉา(พีภัตสรส)  รสเกลียด ขยะแขยงทำให้ผู้อ่านผู้ฟังชังน้ำหน้าบุคคลที่ได้พรรณนาความชั่วร้ายไว้ต่างๆว่าเป็นคนคดโกง  เป็นคนใจจืดใจดำ  ไม่มีความเมตตาปรานี  เลวทรามต่ำช้า เกิดความเกลียดชังไม่อยากพบเห็นแม้แต่ชื่อก็ไม่อยากได้ยินเช่นโจรผู้ร้ายในเรื่องต่างๆ บางเรื่องพรรณนาความปฏิกูลของ  กเฬวระไว้ทำให้นึกเกลียด สะอิดสะเอียนในศพที่เน่าเปื่อยขึ้นพองทำให้คลื่นไส้อาเจียนถึงเบื่อหน่ายแม้ในร่างกายของตนเองด้วยคิดเห็นว่าวันหนึ่งจะต้องเป็นเช่นนั้น ในกัณฑ์กุมาร  ตอนชูชกเฆี่ยนตีกัณหาชาลีผู้ฟังก็นึกเกลียดชูชก</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">                </span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">๘.  วิมฺหยา(อัพภูตรส) รสตื่นเต้น  ประหลาด หลากใจ นึกไม่ถึงว่าจะมีจะเป็นได้ นึกอัศจรรย์ในความสามารถ ในความพยายามของถ้อยคำ  ในอุบาย ในศิลปะ  ในวิทยาคุณ  ในสุปฏิบัติแห่งขันติ เมตตา  และกตัญญูและในฌาณสมาบัติซึ่งยากที่บุคคลทั่วไปจะทำได้ ในกัณฑ์กุมารตอนพระเวสสันดรบำเพ็ญทานโลกธาตุก็เกิดกัมปนาทหวาดหวั่นไหว เป็นที่อัศจรรย์เป็นยิ่งนัก</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">                </span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">๙.  สมะ(ศานติรส)  รสสงบ  เป็นรสสำคัญซึ่งเรื่องทุกเรื่องต้องมี  ด้วยเป็นอุดมคติของเรื่องทั้งหลาย  เป็นจุดที่มุ่งหมายของทางโลกทางธรรม เพราะเป็นคุณากรให้ประสบสุขที่ไม่มีใครปฏิเสธ ทั้งช่วยสร้างนิสัยผู้อ่านผู้ฟังให้รักสงบด้วยโสดหนึ่ง  เช่น เกิดเรื่องเดือดร้อนเพราะโจรผู้ร้าย เรื่องก็จะต้องจบลงได้ด้วยจับโจร ปราบผู้ร้ายได้ เรื่องเดือดร้อนเพราะสงคราม ก็จบลงด้วยสงบสงครามเรื่องเวสสันดรชาดกในกัณฑ์นครกัณฑ์เรื่องราวต่างๆก็จบลงด้วยความเข้าใจซึ่งกันและกันและมีแต่ความสงบร่มเย็นเพราะทานบารมีของพระเวสสันดรดังนี้เป็นต้น</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">                </span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">หนังสือทุกเรื่องที่ได้รับยกย่องว่าแต่งดี  จะต้องมีรส ๙ รส ถ้าผู้อ่านไม่รู้สึกออกรสก็แสดงว่าหนังสือนั้นยังไม่ถึงขนาดที่ควรชม  เช่นเรื่องมหาเวสสันดรชาดกนี้  ถ้าผู้อ่านผู้ฟังตั้งใจจะลิ้มรสก็จะได้รส  สมบูรณ์ครบทั้ง  ๙  รส  ถ้าท่านที่ยังไม่ได้อ่านมหาเวสสันดรชาดกจงพยายามอ่านเสีย  และถ้าท่านที่อ่านแล้วแต่ยังไม่รู้รสก็ขอให้พยายามตั้งใจอ่านอีกสักครั้งโดยกำหนดเอารสทั้ง๙ นี้เป็นมาตรฐาน ตอนใดคำใดออกรสอย่างไร ขอท่านที่รู้สึกออกรสจงเป็นพยานยืนยันคุณค่าของมหาเวสสันดรชาดก  จงช่วยบอกกล่าวกับคนอื่นให้ได้ทราบความดีของเรื่องนี้  และตั้งจิตน้อมบูชาพระสัมมาสัมโพธิญาณขององค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้าที่ทรงพระกรุณาประทานไว้เป็นสมบัติของโลกด้วย<br />\n</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"> <img height=\"153\" width=\"200\" src=\"/files/u415/2223333333333_1.jpg\" border=\"0\" /></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"> \n<!--pagebreak--><!--pagebreak--><p></p></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"><strong><u>เนื้อหาวิชางานประดิษฐ์</u></strong></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"><strong><u></u></strong></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">ภายในงานเทศน์มหาชาติมีการทำเหรียญมงคลเพื่อโปรยให้ผู้เข้าร่วมงาน</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\">วิธีการทำเหรียญมงคล</span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"><img height=\"430\" width=\"300\" src=\"/files/u415/999.jpg\" border=\"0\" /></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"><span style=\"color: #0000ff\">ขั้นตอนที่ 1 การเตรียมอุปรณ์ที่ใช้ในการทำ  ก็ประกอบด้วย กรรไกร ไม้บรรทัด เหรียญ ริบบิ้น<br />\n ริบบิ้นที่ใช้ให้หาซื้อริบบิ้นตราระฆัง (ตามรูปนะค่ะ) ริบบิ้นตรานี้จะไม่แตกง่ายและสีจะสดใสมาก <br />\nหาซื้อได้ตามร้านค้าทั่วไป(แต่ถ้าอยากได้ราคาถูกต้องไปซื้อที่สำเพ็ง อยู่ซอยเดียวกับร้านทองโต๊ะกัง ราคาประมาณม้วนหล่ะ 8 บาท)</span></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"><span style=\"color: #0000ff\">ขั้นที่ 2 ตัดริบบิ้นยาวประมาณ 9 นิ้ว จำนวน 4 เส้น 2 สี<br />\nขั้นที่ 3 พับริ้บบิ้นกึ่งกลาง แล้วนำมาไขว้กันตามรูป<br />\nขั้นที่ 4 นำเหรียญใส่ตรงกลาง<br />\nขั้นที่ 5 พับปิดเหรียญทั้ง 4 เส้น ทำเหมือนกับขั้นตอนที่ 3  เส้นสุดท้ายให้สอดเก็บ<br />\nขั้นที่ 6 กลับด้านหลัง นำเส้นเส้นสอดเก็บทุกเส้น จะออกมาเป็นแบบนี้ค่ะ<br />\nขั้นที่ 7 การทำกลีบล่าง ทำแบบนี้จบครบ 4 ด้าน จะได้เหมือนในรูป<br />\nขั้นที่ 8 จับเส้นยาวบิดขึ้นไปข้างบนและพับกลับมาสอดช่องข้างหน้า<br />\nขั้นที่ 9 ทำแบบขั้นตอนที่ 8 ทั้งหมด 4 ด้านจะได้ดอกพิกุลดังรูป<br />\nตกแต่งให้สวยจะได้ดอกพิกุลที่สวย</span></span>\n</div>\n<div align=\"left\" style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"><span style=\"color: #0000ff\"><img height=\"225\" width=\"300\" src=\"/files/u415/SDC14376-300x225.jpg\" border=\"0\" /></span></span>\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<span style=\"color: #000040\"></span>\n</div>\n', created = 1720419332, expire = 1720505732, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:89859c6b9564e755e17a522479765267' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:f6d8ede0283f6291fc412802111c773c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"280\" width=\"280\" src=\"/files/u415/img.png\" border=\"0\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>', created = 1720419332, expire = 1720505732, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:f6d8ede0283f6291fc412802111c773c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เทศน์มหาชาติ โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

รูปภาพของ sss28285
 
รูปภาพของ ssspoonsak

ตรวจครั้งที่ 2 ยังไม่มีการปรับปรุงเพิ่มเติม

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

รูปภาพของ ssspoonsak

ผ่านมา 20 วัน ไม่แก้ไขอะไรเลยนะจ้ะ

1. น่าจะทำเป็นป้ายแบนเนอร์ชื่อเรื่อง

2. รูปภาพที่ถ่ายมาน่าจะมีการตกแต่งให้ดูดี

3. ควรบอกสถานที่อยู่ของแหล่งเรียนรู้ และจำนวนแหล่งเรียนรู้ที่นำเสนอว่ามีกี่แห่ง

4. ควรมีข้อคิดเห็นจากสมาชิกของชาวสตรีศรีสุริโยทัย

5. ใช้ Google Map บอกที่ตั้งของแหล่งเรียนรู้

6. ควรสรุปเนื้อหาทั้งหมดเป็นภาษาอังกฤษ ความยาวประมาณ 5 บรรทัด

7. ควรบูรณาการเข้ากับสาระวิชาทั้ง 8 กลุ่มสาระวิชาที่กำลังเรียนอยู่ให้ได้

8. ใช้คำสั่ง <!--pagebreak--> เพื่อแบ่งหน้าให้เหมาะสมด้วย

จึงขอมอบนกแก้วไปเลี้ยงก่อนนะ

 
แหล่งที่มาของภาพ http://img.kapook.com/image/pet/indian-parrot.jpg

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

รูปภาพของ sss28306

มุ่ยย ไม่ถ่ายเองเลยสักรูปหรอ

อ่านคำสั่งมาเมื่อกี้ อาจารย์บอกว่า พยายามให้เป็นรูปที่ถ่ายเอง

ของเค้าถ่ายเองแค่รูปเดียวเอง แถมรูปยังไม่ถึงห้ารูปอีกตะหาก เซ็งๆ

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 472 คน กำลังออนไลน์