ถังขยะ: แหล่งเรียนรู้โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

รูปภาพของ sss28291

 

  

 

 

 

จัดการเปลี่ยนแปลงการซํ้าซากจำเจของถังขยะธรรมดาๆ


ศิลปินคนดังกล่าวคือ เดวิด เคนเวิร์ธธี่ หนุ่มชาวออสเตรเลีย เขาได้ใช้หลอดไฟและสีแบบโปร่งแสง มาปรับโฉมถังขยะที่เราเห็น ๆ กันตามริมถนน ให้กลายเป็นผลงานศิลปะที่น่ายกนิ้วให้อยู่ไม่น้อย เพราะได้เปลี่ยนเอาถังขยะที่น้อยคนนักจะเข้าใกล้ ให้กลายเป็นที่สะดุดและน่าใช

แนวความคิดหลัก ๆ ของเขาก็การนำเอาสิ่งของรอบตัวทั่ว ๆ ไปที่พบเห็นตามที่ต่าง ๆ อาจจะเป็น ถังขยะ เก้าอี้ โคมไฟ หรือใด ๆ ก็ตามแต่มาผสมผสานกับศิลปะในเชิงสร้างสรรค์ ให้ออกมาเป็นสิ่งของช่วยให้เกิดความรู้สึกน่าใช้มากขึ้นกว่าเดิม และมีเอกลักษณ์โดดเด่นเฉพาะตัวที่ไม่เหมือนใคร ที่สำคัญคือต้องนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ได้จริง ๆ อีกด้วย

สำหรับถังขยะที่เป็นผลงานของ เคนเวิร์ธธี่ นี้ เขาได้ทาสีให้กับถังขยะซะใหม่ ด้วยการเลือกใช้สีที่มีลักษณะโปร่งแสง จากนั้นแล้วก็นำหลอดไฟนีออนธรรมดา ๆ ที่ใช้กันอยู่นั้น มาติดไว้ที่ด้านหลังของถัง และเมื่อเสียบปลั๊กไฟแล้วล่ะก็ เจ้าถังขยะที่ว่านี้ก็จะปรากฎสีตามที่ทาเอาไว้ขึ้นมาอย่างเด่นชัด เสมือนเรืองแสงได้ยังไงอย่างงั้น สร้างความสวยงามและความแปลกตาขึ้นมาในทันที

นอกจากนี้แล้ว ตัวเขาเองยังมีผลงานศิลปะที่นำสิ่งของต่าง ๆ มาดัดแปลงอื่น ๆ อีกด้วย ไม่ว่าจะเป็น โคมไฟที่เป็นรูปตัวอักษร และกล่องโคมไฟที่ทำจากเม็ดเยลลี่ที่เด็ก ๆ ชอบกิน ซึ่งงานนี้ก็ต้องขอยกนิ้วให้เลย สำหรับไอเดียดี ๆ แบบนี้ที่ทำให้ของสิ่งของที่หลาย ๆ คนมองข้าม กลายมาเป็นจุดสนใจได้อย่างน่าชื่นชม

 

แหล่งอ้างอิงhttp://hilight.kapook.com/view/62312


 

 

การจัดการขยะมูลฝอนในชุมชน

การดำเนินงานเพื่อจัดการขยะมูลฝอยที่ผ่านมา ท้องถิ่นส่วนใหญ่สามารถให้บริการเก็บรวบรวมขยะมูลฝอยได้มากขึ้น ทำให้ปัญหาขยะตกค้างน้อยลง แต่ยังมีปัญหากำจัดขยะมูลฝอยไม่ถูกสุขลักษณะอยู่มากตกค้างน้อยลง แต่ยังมีปัญหากำจัดขยะมูลฝอยไม่ถูกสุขลักษณะอยู่มาก แม้จะมีการจัดสรรงบประมาณ เพื่อก่อสร้างระบบกำจัดที่ถูกสุขลักษณะมากขึ้น แต่ยังมีหลายพื้นที่ที่ยังไม่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณ และยังมีท้องถิ่นหลายแห่งที่มีระบบแล้วก็ไม่สามารถกำจัดขยะมูลฝอยได้ถูกสุขลักษณะตามที่ได้ออกแบบไว้ได้ และบางแห่งได้รับการต่อต้านคัดค้านจากประชาชนจนไม่สามารถเข้าใช้พื้นที่ได้

แหล่งอ้างอิง: http://www.pcd.go.th/info_serv/waste_garbage.html

 

 

 

 

 

 เทคโนโลยีย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน

 การใช้กระบวนการย่อยสลาย แบบไม่ใช้ออกซิเจนในการจัดการขยะมูลฝอยชุมชน โดยทั่วไปสามารถแบ่งการทำงานออกเป็น 3 ขั้นตอน ประกอบด้วย

1. การบำบัดขั้นต้น (Pre-treatment/Front-end Treatment) ซึ่งประกอบด้วยการคัดแยก (Sorting) ขยะมูลฝอยอินทรีย์จากขยะมูลฝอยรวม หรือการคัดแยกสิ่งปะปนออกจากขยะมูลฝอยอินทรีย์ และลดขนาด (Size Reduction) ของขยะมูลฝอยอินทรีย์ให้เหมาะสมสำหรับการย่อยสลาย และเพื่อให้เกิดความสม่ำเสมอ (Homogeneity) ของสารอินทรีย์ที่จะป้อนเข้าสู่ระบบ (Feed Substrate) รวมทั้งเพื่อป้องกันความเสียหายที่จะเกิดขึ้นกับระบบ ซึ่งโดยทั่วไประบบบำบัดขั้นต้นสำหรับเทคโนโลยีย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน สามารถแบ่งออกได้เป็น 2 แบบ คือ (1) Dry Separation Process ซึ่งมักจะใช้ Rotary Screen เป็นอุปกรณ์สำคัญในการคัดแยกขยะมูลฝอยอินทรีย์ และใช้ Shredder ในการบดย่อยขยะมูลฝอยอินทรีย์ให้มีขนาดเหมาะสำหรับการย่อยสลาย (2) Wet Separation Process จะใช้หลักการคัดแยกสิ่งปะปนออกจากขยะมูลฝอยอินทรีย์โดยวิธีการจม-ลอย (Sink-Float Separation) ซึ่งส่วนใหญ่จะมีอุปกรณ์สำคัญที่เรียกว่า Pulper ทำหน้าที่ในการคัดแยกและบดย่อยขยะมูลฝอยอินทรีย           2. การย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน (Anaerobic Digestion) ซึ่งเป็นขั้นตอนการผลิตก๊าซชีวภาพจากขยะมูลฝอยอินทรีย์สำหรับนำไปใช้เป็น พลังงาน และเพื่อทำให้ขยะมูลฝอยอินทรีย์ถูกย่อยสลายเปลี่ยนเป็นอินทรียวัตถุที่มี ความคงตัว ไม่มีกลิ่นเหม็น ปราศจากเชื้อโรคและเมล็ดวัชพืช โดยอาศัยการทำงานของจุลินทรีย์ในสภาพที่ไร้ออกซิเจน ซึ่งขั้นตอนการย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจนนี้สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภทหลักๆ คือ Dry Digestion Process และ Wet Digestion Process ซึ่งมีการควบคุมการป้อนสารอินทรีย์เข้าสู่ระบบให้ปริมาณของแข็งทั้งหมด (Total Solid Content) ให้เป็นประมาณร้อยละ 20-40 และน้อยกว่าร้อยละ 20 ตามลำดับ

3. การบำบัดขั้นหลัง (Post-treatment) ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นขั้นตอนการจัดการกากตะกอนจากการย่อยสลายแบบไม่ใช้ ออกซิเจนให้มีความคงตัวมากขึ้น เช่น การนำไปหมักโดยใช้ระบบหมักปุ๋ยแบบใช้อากาศ รวมทั้งการคัดแยกเอาสิ่งปะปนต่างๆ เช่น เศษพลาสติกและเศษโลหะออกจาก Compost โดยใช้ตะแกรงร่อน ตลอดจนการปรับปรุงคุณภาพของ Compost ให้เหมาะสมกับการนำไปใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกพืช เช่น การอบเพื่อฆ่าเชื้อโรคและลดความชื้น เป็นต้น

 พลังงานที่ผลิตได้จากเทคโนโลยี ย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจน

โดยทั่วไปการใช้เทคโนโลยีย่อยสลายแบบไม่ใช้ออกซิเจนในการบำบัดขยะมูลฝอย อินทรีย์ 1 ตัน จะได้ก๊าซชีวภาพประมาณ 100-200 ลูกบาศก์เมตร ก๊าซชีวภาพที่ได้จะมีมีเทนเป็นองค์ประกอบประมาณร้อยละ 55-70 และมีค่าความร้อนประมาณ 20-25 เมกะจูลต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งพลังงานประมาณร้อยละ 20-40 ของพลังงานของก๊าซชีวภาพที่ผลิตได้ จะถูกนำมาใช้ในระบบทั้งในรูปของพลังงานไฟฟ้าและพลังงานความร้อน และจะมีพลังงานไฟฟ้าส่วนที่เหลือประมาณ 75-150 กิโลวัตต์-ชั่วโมงต่อตันขยะ ที่สามารถส่งออกไปจำหน่ายได้

จุดเด่นของเทคโนโลยีย่อยสลาย แบบไม่ใช้ออกซิเจน

1. ทางด้านสิ่งแวดล้อมและการจัดการของเสีย

- เป็นเทคโนโลยีการบำบัดขยะมูลฝอยที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 

- สามารถแก้ปัญหากลิ่นเหม็น สัตว์พาหะนำโรคที่เกิดจากการกำจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกหลักวิชาการ

- เป็นการหมุนเวียนขยะมูลฝอย อินทรีย์กลับมาใช้ใหม่ในรูปของสารปรับสภาพดิน

- ลดการใช้พื้นที่ในการกำจัดขยะมูลฝอย เมื่อเทียบกับระบบฝังกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาล และระบบหมักปุ๋ยแบบใช้อากาศแบบดั้งเดิม (Conventional Anaerobic Composting)

- สามารถใช้บำบัดขยะมูลฝอยอินทรีย์ในที่ซึ่งการฝังกลบขยะมูลฝอยอินทรีย์ใน พื้นที่ฝังกลบแบบถูกหลักสุขาภิบาลไม่เป็นที่ยอมรับ

- สามารถลดปริมาณขยะมูลฝอยที่จะต้องกำจัดในขั้น ตอนสุดท้าย

- สามารถหมักร่วมกับของเสียอินทรีย์ประเภทอื่น (Co-digestion) เช่น เศษวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร มูลสัตว์ต่างๆ และของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม

2. ทางด้านพลังงาน

- เป็นเทคโนโลยีในการบำบัดขยะมูลฝอยซึ่งสามารถให้พลังงานสุทธิ (Net Energy Producer)

- มีศักยภาพในการผลิตพลังงานจาก ”ขยะเปียก” ซึ่งไม่เหมาะสมสำหรับการเผาเพื่อผลิตพลังงาน มีศักยภาพที่จะได้รับผลตอบแทนทางการเงินและเศรษฐศาสตร์สูง โดยเฉพาะเมื่อพลังงานชนิดอื่นมีราคาสูง และรัฐมีมาตรการส่งเสริมการผลิตพลังงานจากก๊าซชีวภาค

แหล่งอ้างอิง:http://www.dede.go.th/dede/index.php?option=com_content&view=article&id=102&Itemid=118&lang=th

 

 

Spam is one big problem in society. Bangkok waste up to 8.5 tons per day if the average individual is one who will cause a waste of 0.8 to 1 kg per day. Bangkok is a heavy load of rubbish to get rid of them. Just a lot of waste that has resulted in a lot of residual waste each day affect the environment and living conditions in many societies.

       -does not look dirty. The scenery. Smelly nasty interference.

       -Cause contamination of toxins such as lead, mercury into ground and water. 

       -Some types of non-biodegradable waste. And get rid of it hard, likeplastic          

        foam and residue into the environment.

 

 

 

 

 

 

 

รูปภาพของ sss28164

ถ้าจะสวยเว่อขนาดนี้นะ:)))))))))))

*Num

รูปภาพของ sss28167

เจ๋งอ่ะ โอเคๆๆๆๆๆๆๆๆๆ >< สวยๆๆ ชอบๆๆๆ

สวยเนื้อหาดี ความรู้แน่น;DD

รูปภาพของ sss28169

เจ๋งค่าาา เนื้อหาดี : )

รูปภาพของ sss28199

น่าอ่านมากเลยจ้าา ได้ความรู้ใหม่ๆเยอะเลย ;)))

รูปภาพของ sss28319

เนื่อหาแน่น น่าอ่าน ตกแต่งสวย

ขอบคุณสำหรับเนื้อหาดีๆนะค้ะ

รูปภาพของ sss28270

อยากกดไลค์ -..-

รูปภาพของ sss28204

เสี่ยวมันโอเค๊อ๊ะ ^^

อยากทำได้แบบนี้บ้าง 

รูปภาพของ sss28256

สวยจัง เนื้อหาดีๆ จัดสวยงาม^^

รูปภาพของ sss28318

เสี่ยวทำสวยมาก 55555555555 :DDD,

รูปภาพของ sss28254

ว้าวๆๆ ทำบล๊อกดีจัง ชอบมากเลยย :)

รูปภาพของ sss28187

มันใช่อ้ะนาย สุดยอดนะแฮะ *:))))

รูปภาพของ sss28123

ดอกทานตะวันน่ารัก เนื้อหาดีมาก :)

รูปภาพของ sss28205

เนื้อหาดี  ตกแต่งสวยงาม

รูปภาพของ sss28263

ภาพสวยเนื้อหาดี ตกแต่งงามมากจ้า

รูปภาพของ sss28267

ตกแต่งเว็บส่วยงามดี ได้รับความรู้เพิ่มเติม:)

รูปภาพของ ssspoonsak

ตรวจครั้งที่ 2 ยังไม่มีการปรับปรุงเพิ่มเติม

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

รูปภาพของ ssspoonsak

ผ่านมา 20 วัน ไม่แก้ไขอะไรเลยนะจ้ะ

1. น่าจะทำเป็นป้ายแบนเนอร์ชื่อเรื่อง

2. รูปภาพที่ถ่ายมาน่าจะมีการตกแต่งให้ดูดี

3. ควรบอกสถานที่อยู่ของแหล่งเรียนรู้ และจำนวนแหล่งเรียนรู้ที่นำเสนอว่ามีกี่แห่ง

4. ควรมีข้อคิดเห็นจากสมาชิกของชาวสตรีศรีสุริโยทัย

5. ใช้ Google Map บอกที่ตั้งของแหล่งเรียนรู้

6. ควรสรุปเนื้อหาทั้งหมดเป็นภาษาอังกฤษ ความยาวประมาณ 5 บรรทัด

7. ควรบูรณาการเข้ากับสาระวิชาทั้ง 8 กลุ่มสาระวิชาที่กำลังเรียนอยู่ให้ได้

8. ใช้คำสั่ง <!--pagebreak--> เพื่อแบ่งหน้าให้เหมาะสมด้วย

จึงขอมอบนกแก้วไปเลี้ยงก่อนนะ

 
แหล่งที่มาของภาพ http://img.kapook.com/image/pet/indian-parrot.jpg

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 492 คน กำลังออนไลน์