• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:2d27c9c1e23875c43d2ef286e5285f36' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"169\" width=\"454\" src=\"/files/u488/049.gif\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"30\" width=\"340\" src=\"/files/u488/12852_75808.gif\" />  \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"119\" width=\"302\" src=\"/files/u488/social.gif\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"></span>             ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะทำให้ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินของพระองค์ได้รับความสุขโดยทั่วกัน หากผู้ใดได้รับทุกข์หรือเดือดร้อนประการใดพระองค์ทรงหาหนทางช่วยเหลือเสมอ ครั้งนั้นปรากฏว่า สมเด็จเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าพระยาภานุพันธ์วงค์วรเดช ทรงกลัดกลุ้มพระทัย เมื่อพระองค์ทรงทราบ จึงมีรับสั่งให้เข้าเผ้าเพื่อทรงไต่ถามทุกข์สุข เนื่องจากเสด็จในกรมเป็นอนุชาที่แสนเสน่หา พระองค์ทรงเห็นความทุกข์นั้น จึงทรงแนะนำและอนุญาตให้หาที่เสด็จประพาสให้ทรงเกษมสำราญ กรมสมเด็จพระอนุชาพอพระทัยทรงรู้สึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น จึงทรงดำริว่าจะเสด็จประพาสประเทศชวา\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<p></p>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"></span>             ดังนั้นในวันจันทร์ที่ 24 สิงหาคม 2450 สมเด็จเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าพระยาภานุพันธ์วงค์วรเดช จึงเสด็จจากกรุงเทพมหานคร มุ่งไปยังเมืองได ของประเทศชวาเป็นแห่งแรก และทรงตั้งพระทัยว่าจะเสด็จไปยังตำบล มาโตเออ การเดินทางไปลำบากมาก เนื่องจากยังไม่มียานพาหนะ เมื่อเสด็จถึงตำบลมาโตเออ พวกประชาชนมีอยู่ประมาณ 10 หมู่บ้าน ต่างก็พากันมาต้อนรับพระองค์ อย่างคับคั่งสมพระเกียรติในขณะที่ทรงประทับเยี่ยมเยียนราษฎรตำบลนั้น บรรดาชาวบ้านต่างนัด จัดดนตรี อย่างที่เรียกว่ากำมาลัง (มี ปีพาทย์ ฆ้อง กลอง ) นำมาเสดงถวายให้ทอดพระเนตร ประชันกันถึง 7 วงในหมู่ดนตรี มีแปลกอยู่ชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ไผ่เป็นท่อน ๆ แขวนไว้เป็นตับ ตับละ 2 ท่อน ใช้ถือคนละ 1 ตับ ใช้เข่าเรียงเสียง และสลับเสียงไปตามทำนองของเพลงต่าง ๆ ได้ไพเราะน่าฟังมา ผิดกับเครื่องดนตรีชนิดอื่น ๆ ที่ใช้บรรเลงด้วย ดีด สี ตี เป่า แต่ดนตรีชนิดนี้ใช้บรรเลงด้วยเข่าให้ขาส่วนล่างของกระบอกทั้งสองขาที่แขวนอยู่ในรางกระทบหรือตัวรางข้างหนึ่ง และอีกข้างหนึ่ง เช็คเสียงดังตามที่เทียบกระบอกเสียงไว้ เป็นเสียงสูงหรือต่ำกระบอกเสียง ใหญ่ กลาง เล็ก ผูกแขวนไว้รางเป็นตับ ๆ เมื่อเข่าไปตามเสียงทำนองของเพลงที่สับสน วนเวียน ตรงความเคลื่อนไหวของเสียงตามทำนองเพลงนั้น ๆ ได้น่าฟังมาก ดนตรีชนิดนี้แหละเรียกว่า &quot;อังกะลุง&quot; ในโอกาสนี้หลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ได้ติดตามเสด็จไปด้วย\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<p></p>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"></span>             เมื่อพระองค์เสด็จกลับเมืองไทย จึงมีรับสั่งให้กงศุลไทยในชวา ซื้อดนตรีชนิดนี้ส่งมา 1 ชุด แล้วทรงนำดนตรีชนิดนี้ฝึกสอนมหาดเล็กของพระองค์ในวังบูรพาก่อน จึงเกิดมีดนตรีชนิดนี้ขึ้นในเมืองไทย ต่อมาก็ได้แพร่หลาย ออกไปทั่วประเทศ ดังนั้นจึงถือว่าพระองค์เป็นเจ้านายคนแรกที่ให้กำเนิดดนตรีชนิดนี้ขึ้นในประเทศไทย ทั้งเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่า อังกะลุงนี้ เป็นดงตรีที่แปลกชนิดหนึ่งผู้บรรเลงทุก ๆ คนต้องมีความสามัคคีพร้อมเพรียงกันตลอดเวลาที่บรรเลงเพลงทุก ๆ เพลงได้ ทั้งผู้เขย่าก็มีความสนุกสนานมากบางคนถึงกับเขย่าไปตามทำนองเพลงและมีผู้ประดิษฐ์ขึ้นในเมืองไทยสามารถทำเสียงสูงและต่ำกระบอกเสียงใหญ่ กลาง เล็ก ด้วยไม้ไผ่สายธรรมชาติ ตลอดจนรูปของตับอังกะลุง ได้ดัดแปลงแก้ไข ให้สวยงามและเหมาะสมให้ผิดไปจากของเดิมมากมาย นับว่าท่านมีสายตากว้างไกล และเป็นที่นิยมกันแพร่หลายของไทยตราบเท่าทุกวันนี้ ชาวต่างชาติได้สนใจดนตรีนี้ ได้สั่งซื้อไปบรรเลงเพลงของชาติตนเป็นจำนวนมาก\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<p></p>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"></span>             อังกะลุง เป็นเครื่องดนตรีประเภท “ ตี ” มีเสียงที่เกิดจากการกระทบของไม้ไผ่ กับรางไม้ ต้นแบบจากประเทศชวา (ประเทศอินโดนิเชีย ) ที่เรียกว่า “อุงคะลุง ”\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<p></p>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"></span>             ครูจางวางศร ศิลปบรรเลง (หลวงประดิษฐ์ไพเราะ)เป็นผู้นำอังกะลุงเข้ามาในเมืองไทยครั้งแรก เมื่อราว พ.ศ. 2451 เมื่อครั้งที่ท่านได้โดยเสด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมหลวงพันธุวงศ์วรเดช ขณะเสด็จพระราชดำเนินประพาสประเทศชวาอังกะลุงชวาที่นำเข้ามาครั้งแรกเป็นอังกะลุงชนิดคู่ ไม้ไผ่ 2 กระบอก มีขนาดใหญ่และน้ำหนักมาก ยกเขย่าไม่ได้ ต้องใช้วิธีการบรรเลงแบบชวา คือมือหนึ่งถือไว้ อีกมือหนึ่งไกวให้เกิดเสียงอังกะลุงที่นำเข้ามาสมัยนั้น มี 5 เสียง ตามระบบเสียงดนตรีของชวา ทำด้วยไม้ไผ่ทั้งหมด ทั้งตัวอังกะลุงและราง ถายหลังได้มีการพัฒนาโดยขยายจำนวนไม้ไผ่เป็น 3 กระบอก และลดขนาดให้เล็กและเบาลงเพิ่มเสียงจนครบ 7 เสียง ในสมัยรัชกาลที่ 6 เชื่อกันว่า มีกาพัฒนาการบรรเลง จากการไกว เป็นการเขย่าแทน นับว่า เป็นต้นแบบของการบรรเลงอังกะลุงในปัจจุบันหลวงประดิษฐ์ไพเราะได้นำวงอังกะลุงจากวังบูรพาภิรมย์ไปแสดงครั้งแรกในงานทอดกฐินหลวง ที่วัดราชาธิวาส ในสมัยรัชกาลที่ 6โดยทั่วไปเครื่องหนึ่งจะมีเสียงเดียว การเล่นอังกะลุงให้เป็นเพลงจึงต้องใช้อังกะลุงหลายเครื่อง โดยมักจะให้นักดนตรีถืออังกะลุงคนละ 1 - 2 เครื่อง เมื่อต้องการโน้ตเสียงใด นักดนตรีประจำเสียงนั้นก็จะเขย่าอังกะลุง การเล่นอังกะลุงจึงต้องอาศัยความพร้อมเพรียงเป็นอย่างมากนอกจากอังกะลุงเครื่องละหนึ่งเสียงแล้ว ยังมีการผลิตอังกะลุงที่มีเครื่องหนึ่งมากกว่า 1 เสียงด้วย เรียกว่า อังกะลุงราว\n</div>\n<p></p>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"></span>             ในสมัยต่อมาจึงมีการพัฒนาอังกะลุง โดยขยายจำนวนไม้ไผ่เป็น 3 กระบอก ลดขนาดให้เล็กและเบาลงเพิ่มเสียงจนครบ 7 เสียง ในสมัยรัชการที่ 6 เชื่อกันว่า มีการพัฒนาการบรรเลง จากการไกว เป็นการเขย่าแทน นับว่า เป็นต้นแบบของการบรรเลงอังกะลุงในปัจจุบัน\n</div>\n<p>\n             หลวงประดิษฐ์ไพเราะ ได้นำวงอังกะลุง จากวังบูรพาภิรมย์ ไปแสดงครั้งแรกในงานทอดกฐินหลวง ที่วัดราชาธิวาส ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลที่ 6 แต่ไม่ทราบว่าเป็นปีใด\n</p>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"></span>             ปัจจุบัน วงอังกะลุง ได้เป็นที่รู้จักของคนทั่วไปและเป็นที่ชื่นชอบของคนที่ได้ฟังเสียงเพราะเสียงที่เกิดจากการกระทบของกระบอกไม้ไผ่กับรางมีความไพเราะที่แปลกไปจากเครื่องดนตรีชนิดอื่นแม้แต่ชาวต่างประเทศที่ได้เห็น ได้ฟัง ยังแสดงความชื่นชอบจนต้องขอซื้อเครื่องดนตรีชนิดนี้ ไปเป็นที่ระลึกด้วย \n</div>\n<p></p>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"></span>             วงอังกะลุง จะประกอบไปด้วยชุดอังกะลุงซึ่งมีจำนวนอย่างน้อย 7 คู่ เครื่องประกอบจังหวะเช่น ฉิ่ง , ฉาบเล็ก, กรับ,โหม่ง, กลองแขกและเครื่องตกแต่งเพื่อเพิ่มความสวยงาม เช่นธงชาติ,หางนกยูง เป็นต้น ตามสถานศึกษาต่าง ๆ มักนิยมนำมาฝึกหัดให้กับนักเรียน เนื่องจากเป็นเครื่องดนตรีไทย ที่ให้เสียงไพเราะ ฝึกหัดไม่ยาก ใช้งบประมาณในการจัดตั้งวงไม่สูงมากนัก (ประมาณ 10,000 บาท) ทั้งยังเป็นการสร้างความสามัคคีและความพร้อมเพรียงให้กับหมู่คณะอีกด้วย เพราะวงอังกะลุงปกติ ผู้บรรเลงเพียงคนเดียว ทำไม่ได้ (นอกจากจะใช้แบบ อังกะลุงราว)\n</div>\n<div style=\"text-align: left\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img height=\"600\" width=\"450\" src=\"/files/u488/262867_2289667967736_1430092804_32703668_5972009_n.jpg\" /> \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nภาพถ่ายโดย น.ส.กชกร<span class=\"Apple-tab-span\" style=\"white-space: pre\"> </span>แซ่เอี้ยะ \n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u488/back.gif\" alt=\"กลับสู่หน้าหลัก\" title=\"กลับสู่หน้าหลัก\" /> <a href=\"/node/105683?page=0%2C1\"><img height=\"124\" width=\"290\" src=\"/files/u488/1.jpg\" alt=\"สารบัญ\" title=\"สารบัญ\" style=\"width: 287px; height: 119px\" /> </a>\n</div>\n', created = 1719295828, expire = 1719382228, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:2d27c9c1e23875c43d2ef286e5285f36' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

อังกะลุง : แหล่งเรียนรู้โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

รูปภาพของ sss28319
  
             ในรัชกาลพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะทำให้ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินของพระองค์ได้รับความสุขโดยทั่วกัน หากผู้ใดได้รับทุกข์หรือเดือดร้อนประการใดพระองค์ทรงหาหนทางช่วยเหลือเสมอ ครั้งนั้นปรากฏว่า สมเด็จเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าพระยาภานุพันธ์วงค์วรเดช ทรงกลัดกลุ้มพระทัย เมื่อพระองค์ทรงทราบ จึงมีรับสั่งให้เข้าเผ้าเพื่อทรงไต่ถามทุกข์สุข เนื่องจากเสด็จในกรมเป็นอนุชาที่แสนเสน่หา พระองค์ทรงเห็นความทุกข์นั้น จึงทรงแนะนำและอนุญาตให้หาที่เสด็จประพาสให้ทรงเกษมสำราญ กรมสมเด็จพระอนุชาพอพระทัยทรงรู้สึกในพระมหากรุณาธิคุณเป็นล้นพ้น จึงทรงดำริว่าจะเสด็จประพาสประเทศชวา

             ดังนั้นในวันจันทร์ที่ 24 สิงหาคม 2450 สมเด็จเจ้าน้องยาเธอ เจ้าฟ้าพระยาภานุพันธ์วงค์วรเดช จึงเสด็จจากกรุงเทพมหานคร มุ่งไปยังเมืองได ของประเทศชวาเป็นแห่งแรก และทรงตั้งพระทัยว่าจะเสด็จไปยังตำบล มาโตเออ การเดินทางไปลำบากมาก เนื่องจากยังไม่มียานพาหนะ เมื่อเสด็จถึงตำบลมาโตเออ พวกประชาชนมีอยู่ประมาณ 10 หมู่บ้าน ต่างก็พากันมาต้อนรับพระองค์ อย่างคับคั่งสมพระเกียรติในขณะที่ทรงประทับเยี่ยมเยียนราษฎรตำบลนั้น บรรดาชาวบ้านต่างนัด จัดดนตรี อย่างที่เรียกว่ากำมาลัง (มี ปีพาทย์ ฆ้อง กลอง ) นำมาเสดงถวายให้ทอดพระเนตร ประชันกันถึง 7 วงในหมู่ดนตรี มีแปลกอยู่ชนิดหนึ่ง ทำด้วยไม้ไผ่เป็นท่อน ๆ แขวนไว้เป็นตับ ตับละ 2 ท่อน ใช้ถือคนละ 1 ตับ ใช้เข่าเรียงเสียง และสลับเสียงไปตามทำนองของเพลงต่าง ๆ ได้ไพเราะน่าฟังมา ผิดกับเครื่องดนตรีชนิดอื่น ๆ ที่ใช้บรรเลงด้วย ดีด สี ตี เป่า แต่ดนตรีชนิดนี้ใช้บรรเลงด้วยเข่าให้ขาส่วนล่างของกระบอกทั้งสองขาที่แขวนอยู่ในรางกระทบหรือตัวรางข้างหนึ่ง และอีกข้างหนึ่ง เช็คเสียงดังตามที่เทียบกระบอกเสียงไว้ เป็นเสียงสูงหรือต่ำกระบอกเสียง ใหญ่ กลาง เล็ก ผูกแขวนไว้รางเป็นตับ ๆ เมื่อเข่าไปตามเสียงทำนองของเพลงที่สับสน วนเวียน ตรงความเคลื่อนไหวของเสียงตามทำนองเพลงนั้น ๆ ได้น่าฟังมาก ดนตรีชนิดนี้แหละเรียกว่า "อังกะลุง" ในโอกาสนี้หลวงประดิษฐ์ไพเราะ (ศร ศิลปบรรเลง) ได้ติดตามเสด็จไปด้วย

             เมื่อพระองค์เสด็จกลับเมืองไทย จึงมีรับสั่งให้กงศุลไทยในชวา ซื้อดนตรีชนิดนี้ส่งมา 1 ชุด แล้วทรงนำดนตรีชนิดนี้ฝึกสอนมหาดเล็กของพระองค์ในวังบูรพาก่อน จึงเกิดมีดนตรีชนิดนี้ขึ้นในเมืองไทย ต่อมาก็ได้แพร่หลาย ออกไปทั่วประเทศ ดังนั้นจึงถือว่าพระองค์เป็นเจ้านายคนแรกที่ให้กำเนิดดนตรีชนิดนี้ขึ้นในประเทศไทย ทั้งเป็นที่ยอมรับกันทั่วไปว่า อังกะลุงนี้ เป็นดงตรีที่แปลกชนิดหนึ่งผู้บรรเลงทุก ๆ คนต้องมีความสามัคคีพร้อมเพรียงกันตลอดเวลาที่บรรเลงเพลงทุก ๆ เพลงได้ ทั้งผู้เขย่าก็มีความสนุกสนานมากบางคนถึงกับเขย่าไปตามทำนองเพลงและมีผู้ประดิษฐ์ขึ้นในเมืองไทยสามารถทำเสียงสูงและต่ำกระบอกเสียงใหญ่ กลาง เล็ก ด้วยไม้ไผ่สายธรรมชาติ ตลอดจนรูปของตับอังกะลุง ได้ดัดแปลงแก้ไข ให้สวยงามและเหมาะสมให้ผิดไปจากของเดิมมากมาย นับว่าท่านมีสายตากว้างไกล และเป็นที่นิยมกันแพร่หลายของไทยตราบเท่าทุกวันนี้ ชาวต่างชาติได้สนใจดนตรีนี้ ได้สั่งซื้อไปบรรเลงเพลงของชาติตนเป็นจำนวนมาก

             อังกะลุง เป็นเครื่องดนตรีประเภท “ ตี ” มีเสียงที่เกิดจากการกระทบของไม้ไผ่ กับรางไม้ ต้นแบบจากประเทศชวา (ประเทศอินโดนิเชีย ) ที่เรียกว่า “อุงคะลุง ”

             ครูจางวางศร ศิลปบรรเลง (หลวงประดิษฐ์ไพเราะ)เป็นผู้นำอังกะลุงเข้ามาในเมืองไทยครั้งแรก เมื่อราว พ.ศ. 2451 เมื่อครั้งที่ท่านได้โดยเสด็จเจ้าฟ้าภาณุรังษีสว่างวงศ์ กรมหลวงพันธุวงศ์วรเดช ขณะเสด็จพระราชดำเนินประพาสประเทศชวาอังกะลุงชวาที่นำเข้ามาครั้งแรกเป็นอังกะลุงชนิดคู่ ไม้ไผ่ 2 กระบอก มีขนาดใหญ่และน้ำหนักมาก ยกเขย่าไม่ได้ ต้องใช้วิธีการบรรเลงแบบชวา คือมือหนึ่งถือไว้ อีกมือหนึ่งไกวให้เกิดเสียงอังกะลุงที่นำเข้ามาสมัยนั้น มี 5 เสียง ตามระบบเสียงดนตรีของชวา ทำด้วยไม้ไผ่ทั้งหมด ทั้งตัวอังกะลุงและราง ถายหลังได้มีการพัฒนาโดยขยายจำนวนไม้ไผ่เป็น 3 กระบอก และลดขนาดให้เล็กและเบาลงเพิ่มเสียงจนครบ 7 เสียง ในสมัยรัชกาลที่ 6 เชื่อกันว่า มีกาพัฒนาการบรรเลง จากการไกว เป็นการเขย่าแทน นับว่า เป็นต้นแบบของการบรรเลงอังกะลุงในปัจจุบันหลวงประดิษฐ์ไพเราะได้นำวงอังกะลุงจากวังบูรพาภิรมย์ไปแสดงครั้งแรกในงานทอดกฐินหลวง ที่วัดราชาธิวาส ในสมัยรัชกาลที่ 6โดยทั่วไปเครื่องหนึ่งจะมีเสียงเดียว การเล่นอังกะลุงให้เป็นเพลงจึงต้องใช้อังกะลุงหลายเครื่อง โดยมักจะให้นักดนตรีถืออังกะลุงคนละ 1 - 2 เครื่อง เมื่อต้องการโน้ตเสียงใด นักดนตรีประจำเสียงนั้นก็จะเขย่าอังกะลุง การเล่นอังกะลุงจึงต้องอาศัยความพร้อมเพรียงเป็นอย่างมากนอกจากอังกะลุงเครื่องละหนึ่งเสียงแล้ว ยังมีการผลิตอังกะลุงที่มีเครื่องหนึ่งมากกว่า 1 เสียงด้วย เรียกว่า อังกะลุงราว

             ในสมัยต่อมาจึงมีการพัฒนาอังกะลุง โดยขยายจำนวนไม้ไผ่เป็น 3 กระบอก ลดขนาดให้เล็กและเบาลงเพิ่มเสียงจนครบ 7 เสียง ในสมัยรัชการที่ 6 เชื่อกันว่า มีการพัฒนาการบรรเลง จากการไกว เป็นการเขย่าแทน นับว่า เป็นต้นแบบของการบรรเลงอังกะลุงในปัจจุบัน

             หลวงประดิษฐ์ไพเราะ ได้นำวงอังกะลุง จากวังบูรพาภิรมย์ ไปแสดงครั้งแรกในงานทอดกฐินหลวง ที่วัดราชาธิวาส ซึ่งตรงกับสมัยรัชกาลที่ 6 แต่ไม่ทราบว่าเป็นปีใด

             ปัจจุบัน วงอังกะลุง ได้เป็นที่รู้จักของคนทั่วไปและเป็นที่ชื่นชอบของคนที่ได้ฟังเสียงเพราะเสียงที่เกิดจากการกระทบของกระบอกไม้ไผ่กับรางมีความไพเราะที่แปลกไปจากเครื่องดนตรีชนิดอื่นแม้แต่ชาวต่างประเทศที่ได้เห็น ได้ฟัง ยังแสดงความชื่นชอบจนต้องขอซื้อเครื่องดนตรีชนิดนี้ ไปเป็นที่ระลึกด้วย 

             วงอังกะลุง จะประกอบไปด้วยชุดอังกะลุงซึ่งมีจำนวนอย่างน้อย 7 คู่ เครื่องประกอบจังหวะเช่น ฉิ่ง , ฉาบเล็ก, กรับ,โหม่ง, กลองแขกและเครื่องตกแต่งเพื่อเพิ่มความสวยงาม เช่นธงชาติ,หางนกยูง เป็นต้น ตามสถานศึกษาต่าง ๆ มักนิยมนำมาฝึกหัดให้กับนักเรียน เนื่องจากเป็นเครื่องดนตรีไทย ที่ให้เสียงไพเราะ ฝึกหัดไม่ยาก ใช้งบประมาณในการจัดตั้งวงไม่สูงมากนัก (ประมาณ 10,000 บาท) ทั้งยังเป็นการสร้างความสามัคคีและความพร้อมเพรียงให้กับหมู่คณะอีกด้วย เพราะวงอังกะลุงปกติ ผู้บรรเลงเพียงคนเดียว ทำไม่ได้ (นอกจากจะใช้แบบ อังกะลุงราว)
 
ภาพถ่ายโดย น.ส.กชกร แซ่เอี้ยะ
กลับสู่หน้าหลัก สารบัญ
รูปภาพของ sss28164

ถ้าจะสวยเว่อขนาดนี้นะ:)))))))))))

*Num

รูปภาพของ sss28204

ดุกแบนเนอร์ อลังไปนะ

อฉ. ==

 

ชอบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบบ 

รูปภาพของ sss28167

เจ๋งอ่ะคุนแฟนน  โอเคๆๆๆๆๆๆๆๆๆ >< สวยๆๆ ชอบๆๆๆ

รูปภาพของ sss28277

เลิศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศศ ! :DD

รูปภาพของ sss28197

สวยอ่ะ ชอบๆด้รับความรู้เพิ่มด้วย~

รูปภาพของ sss28263

สวยงามเนื้อหาประทับใจจ้า

รูปภาพของ sss28169

เจ๋งอ่ะ เนื้อหาเยี่ยม ตกแต่งสวยงาม ,, อนุรักษ์ศิลปะดนตรีไทยยยยย >//<

รูปภาพของ sss28199

น่าอ่านมากจ้า เนื้อหาเยอะดี ;))

รูปภาพของ sss28291

สีสันสวยสะดุดตา เนื้อหาแน่น เยี่ยมมม:))

รูปภาพของ sss28191

ตกแต่งสวยมาก ๆ น่ารัก ๆ

เนื้อหาก็จัดได้น่าสนใจมาก

 

 (: 

รูปภาพของ sss28310

ตกแต่งได้สวยแล้วก็น่ารักมากๆค่ะ

เนื้อหาน่าอ่าน 

รูปภาพของ sss28270

รูปเเบบสวย น่าอ่านอ่ะ ><

รูปภาพของ sss28205

เนื้อหาดี  ตกแต่งสวยงาม

รูปภาพของ sss28267

ตกแต่งเว็บส่วยงามดี ได้รับความรู้เพิ่มเติม:)

รูปภาพของ sss28300

เนื้อหาสาระเยอะดีคะ
ได้ความรู้จากประวัติของอังกะลุงมากมายเลย ^^

รูปภาพของ ssspoonsak

ตรวจครั้งที่ 2 ยังไม่มีการปรับปรุงเพิ่มเติม

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

รูปภาพของ ssspoonsak

ผ่านมา 20 วัน ไม่แก้ไขอะไรเลยนะจ้ะ

1. น่าจะทำเป็นป้ายแบนเนอร์ชื่อเรื่อง

2. รูปภาพที่ถ่ายมาน่าจะมีการตกแต่งให้ดูดี

3. ควรบอกสถานที่อยู่ของแหล่งเรียนรู้ และจำนวนแหล่งเรียนรู้ที่นำเสนอว่ามีกี่แห่ง

4. ควรมีข้อคิดเห็นจากสมาชิกของชาวสตรีศรีสุริโยทัย

5. ใช้ Google Map บอกที่ตั้งของแหล่งเรียนรู้

6. ควรสรุปเนื้อหาทั้งหมดเป็นภาษาอังกฤษ ความยาวประมาณ 5 บรรทัด

7. ควรบูรณาการเข้ากับสาระวิชาทั้ง 8 กลุ่มสาระวิชาที่กำลังเรียนอยู่ให้ได้

8. ใช้คำสั่ง <!--pagebreak--> เพื่อแบ่งหน้าให้เหมาะสมด้วย

จึงขอมอบนกแก้วไปเลี้ยงก่อนนะ

 
แหล่งที่มาของภาพ http://img.kapook.com/image/pet/indian-parrot.jpg

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 364 คน กำลังออนไลน์