• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:ae38dd19407c5ce298178a5dafd2efde' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n <img src=\"http://qrcode.kaywa.com/img.php?s=12&amp;d=http%3A%2F%2Fwww.thaigoodview.com%2Fnode%2F103785\" alt=\"qrcode\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u53491/chom.jpg\" border=\"0\" width=\"303\" height=\"88\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u53491/IMG00016-20110811-1316_0_0.jpg\" border=\"0\" width=\"216\" height=\"288\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nแหล่งที่มาของภาพ  น.ส.อนรรฆวี   สุกใส\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u53491/info3-2.jpg\" border=\"0\" width=\"261\" height=\"310\" style=\"width: 191px; height: 183px\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nแหล่งที่มาของภาพ <a href=\"http://www.skn.ac.th/skl/skn422/garden/info3-2.jpg\">http://www.skn.ac.th/skl/skn422/garden/info3-2.jpg</a>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #33cccc\">ชื่อ ชมพูพันธุ์ทิพย์ </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #99ccff\">ชื่อวิทยาศาสตร์ Tabebuia rosea (Bertol.) DC</span><br />\n<span style=\"background-color: #99ccff\">ชื่ออื่น ชมพูอินเดีย, ธรรมบูชา, ตาเบบูยา วงศ์ Bignoniaceae ลักษณะทั่วไป<br />\n•ไม้ต้น สูง 8-25 เมตร เรือนยอดแผ่กว้างเป็นชั้นๆ ไม่ผลัดใบ<br />\n• เปลือกสีน้ำตาลหรือสีเทา<br />\n• ใบประกอบรูปนิ้วมือ เรียงตรงข้าม ใบเป็นแผ่นรูปรีปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบ<br />\n• ดอกสีชมพูอ่อน ออกเป็นช่อกระจุกตามง่ามใบ และที่ปลายกิ่ง<br />\nชมพูพันธุ์ทิพย์อยู่ในวงศ์  Bignoniaceae  เช่นเดียวกับทองอุไรและศรีตรัง  </span>\n</p>\n<div style=\"text-align: center\">\n<img src=\"/files/u53491/3408.jpg\" border=\"0\" width=\"482\" height=\"365\" style=\"width: 256px; height: 236px\" />\n</div>\n<div style=\"text-align: center\">\nแหล่งที่มาของภาพ <a href=\"http://www.trekkingthai.com/webboard/trip/3408.jpg\">http://www.trekkingthai.com/webboard/trip/3408.jpg</a>\n</div>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"background-color: #666699\">เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลาง  สูงราว ๘-๑๒ เมตร  ใบเป็นแบบผสม  มีใบย่อย ๕ ใบบนต้นเดียวกัน  แผ่ออกคล้ายใบปาล์ม  ผิวไม่เรียบ  ปลายใบแหลม  ยาวประมาณ ๑๒ เซนติเมตรกิ่งก้านสาขาแผ่ออกเป็นพุ่มค่อนข้างแน่น ชมพูพันธุ์ทิพย์  ใบแก่และทิ้งใบในฤดูหนาว  ช่วงเดือนพฤศจิกายน-มกราคม  หลังจากนั้นจะออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน  ดอกออกเป็นช่อตามกิ่งก้าน  ช่อละ ๕-๘ ดอก  <br />\nดอกย่อยลักษณะคล้ายดอกผักบุ้งหรือปากแตร  คือโคนดอกเป็นหลอดยาวปลายดอกบานออกเป็น ๕ กลีบ  กลีบดอกบาง <br />\nย่นเป็นจีบๆ และร่วงหล่นง่าย  จะเห็นดอกชมพูพันธุ์ทิพย์ร่วงหล่นกระจายอยู่รอบๆ ต้น  งดงามพอๆ กับที่บานอยู่บนต้น  <br />\nดอกย่อยแต่ละดอกกว้างราว ๘ เซนติเมตร  ยาวราว ๑๕ เซนติเมตร   สีของกลีบดอกปกติเป็นสีชมพูสดใส  แต่มีความเข้มและจางแตกต่างกันไป <br />\nโดยเฉพาะต้นที่เกิดจากเมล็ดจะมีความผันแปรมากมาย  ตั้งแต่สีชมพูจางเกือบขาวไปจนถึงสีเข้มเกือบเป็นสีม่วงแดง<br />\nเมื่อดอกชมพูพันธุ์ทิพย์ร่วงหล่นแล้ว  จะติดฝักรูปร่างคล้ายมวนบุหรี่  ยาวราว  ๑๕ เซนติเมตร <br />\nเมื่อฝักแก่ราวเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม  จะแตกออกด้านเดียวตามยาวแล้วเมล็ดที่มีปีกก็ปลิวไปตามลมได้ไกลๆ<br />\nต้นกำเนิดของชมพูพันธุ์ทิพย์  อยู่ในเขตร้อนของทวีปอเมริกาใต้  ต่อมาได้ถูกนำไปปลูกในเขตร้อนทวีปต่างๆ อย่างแพร่หลายรวมทั้งประเทศไทย สำหรับประเทศไทยมีบันทึกเป็นหลักฐานว่า  เป็นผู้นำเข้ามาในประเทศครั้งแรกคือ  กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิ์พินิต  และ ม.ร.ว.พันธุ์ทิพย์  บริพัตร  จึงตั้งชื่อตามสีดอก และเป็นเกียรติแก่ผู้นำเข้าว่า  ชมพูพันธุ์ทิพย์  ชื่อเดิมคือ ตาเบบูย่า  มีชื่ออื่นๆ คือ  แตรชมพู  ธรรมบูชา  ชื่อในภาษาอังกฤษคือ  Pink  Trumpet Tree ตามลักษณ์ของดอกนั่นเอง </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img src=\"/files/u53491/IMG00016-20110811-1316.jpg\" border=\"0\" width=\"360\" height=\"480\" style=\"width: 188px; height: 213px\" />\n</p>\n<p align=\"left\">\nแหล่งที่มาของภาพ <a href=\"/files/u53491/IMG00016-20110811-1316.jpg\">น</a>.ส.อนรรฆวี   สุกใส\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"background-color: #00ccff\">ประโยชน์ของชมพูพันธุ์ทิพย์ <br />\n</span><span style=\"background-color: #ff99cc\">ชมพูพันธุ์ทิพย์เป็นต้นไม้ที่ปลูกง่าย  ทนทานต่อดินฟ้าอากาศ  และโรคแมลง  โตเร็ว  มีดอกงดงาม<br />\nทรงพุ่มสวยดอกสวยมีสีสัน ให้ร่มเงา ปลูกริมถนน ลานจอดรถ ปลูกเป็นกลุ่มในสนามโล่ง ทนน้ำท่วมชัง<br />\nแต่กิ่งเปราะไม่เหมาะปลูกใกล้สนามเด็กเล่น เพราะกิ่งเปราะ ดอกร่วงมาก  จึงนิยมนำไปปลูกเป็นไม้ประดับ<br />\nและร่มเงาในบริเวณสถานที่ราชการ สวนสาธารณะ และตามถนนหนทาง  เนื่องจากเป็นต้นไม้ที่เพิ่ง<br />\nเข้ามาเมืองไทยได้ไม่กี่สิบปี  จึงยังไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ทางสมุนไพรและด้านอาหาร <br />\nต้นกำเนิดของชมพูพันธุ์ทิพย์   </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"background-color: #ff99cc\">ชมพูพันธุ์ทิพย์กับความเชื่อของนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย<br />\nนักเรียนในโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัยมีความเชื่อในเรื่องของต้นชมพูพันธุ์ทิพย์ว่า <br />\nหากปีใดต้นชมพูพันธุ์ทิพย์ผลิดอกมากมาย นั่นแสดงว่าปีนั้นจะมีนักเรียนในโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย <br />\nระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สามารถสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้เป็นจำนวนมาก <br />\nและความเชื่อนี้ก็ได้แพร่มาถึงรุ่นน้อง ๆ ต่อ ๆ กันมา จึงถือได้ว่ามีความสำคัญกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เป็นอย่างยิ่ง </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"background-color: #333399\">Exposure pink trumpet-tree </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"background-color: #c0c0c0\">If a tree with a very thin trunk is put in shelter, <br />\nit could be useful to secure it to a solid stake, which can keep it erect, <br />\nand protect it from the damage caused by strong winds.<br />\nPlant which need at least a few hours a day of solar light.<br />\nThese plants can be brought outside only if there isn\'t any more danger of freezings. <br />\nUsually they are moved to the garden, or terrace, during the months of April-May.</span></p>\n<p><span style=\"background-color: #ff99cc\">Fertilization pink trumpet-tree</span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"background-color: #ffff99\">Let’s fertilize the plants when implanting them, <br />\nor every 2-3 years, towards the end of the winter or beginning of Autumn. <br />\nA good quantity of organic fertilizer, <br />\nsuch as manure or earthworm humus should be mixed to the soil at the foot of the stem; <br />\nin this manner we will supply it with a good quantity of nutrients and we will also improve the mixture of the soil. </span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<img src=\"/files/u53491/IMG00015-20110811-1316_0.jpg\" border=\"0\" width=\"360\" height=\"480\" style=\"width: 183px; height: 235px\" />       \n</p>\n<p align=\"left\">\nแหล่งที่มาของภาพ น.ส.อนรรฆวี   สุกใส\n</p>\n<p align=\"left\">\nแหล่งอ้างอิง <a href=\"http://bossy-boop3.blogspot.com/\">http://bossy-boop3.blogspot.com/</a>\n</p>\n<p align=\"left\">\n<a href=\"http://www.doctor.or.th/node/1591\">http://www.doctor.or.th/node/1591</a>\n</p>\n<p>\n<iframe src=\"http://www.youtube.com/embed/v-gKs-v19_A\" height=\"349\" width=\"425\" frameborder=\"0\"></iframe>\n</p>\n<p>\nแหล่งที่มาของวิดีโอ <a href=\"http://youtu.be/v-gKs-v19_A\">http://youtu.be/v-gKs-v19_A</a>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u53491/45.jpg\" border=\"0\" width=\"303\" height=\"88\" style=\"width: 284px; height: 70px\" />\n</p>\n<p>\n<img src=\"/\" border=\"0\" width=\"1\" height=\"1\" /> <img src=\"/files/u53491/cats89.jpg\" border=\"0\" width=\"392\" height=\"314\" />\n</p>\n<p>\nแหล่งที่มา <a href=\"http://maps.google.co.th/maps?hl=th&amp;tab=wl\">http://maps.google.co.th/maps?hl=th&amp;tab=wl</a>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u53491/ad.jpg\" border=\"0\" width=\"216\" height=\"64\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #008000\">•เลขที่ 1 ซอยเจริญกรุง 57  ถนนเจริญกรุง แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120  <br />\n•โทรศัพท์ :  0-2211-0383 , 0-211-9850 <br />\n•Website :  </span><a href=\"http://www.suriyothai.ac.th/\"><span style=\"background-color: #008000\">http://www.suriyothai.ac.th</span></a><span style=\"background-color: #008000\"> </span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u53491/original_NB14.gif\" border=\"0\" width=\"402\" height=\"77\" /> <img src=\"/files/u53491/dukdik_25_out.gif\" border=\"0\" width=\"84\" height=\"98\" style=\"width: 44px; height: 50px\" />\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p> <img src=\"/files/u53491/thai.jpg\" border=\"0\" width=\"303\" height=\"88\" style=\"width: 263px; height: 65px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ccffcc\">ชมพูพันธุ์ทิพย์เด่นงามอร่ามศรี </span>               <span><span></span></span><span><span style=\"background-color: #ccffcc\"> ช่วงต้นปีออกดอกมีสีสัน <br />\nม่วงอมชมพูดูสวยปะปนกัน</span></span>                     <span><span style=\"background-color: #ccffcc\">ต้นสูงชันงามสง่าน่ารื่นรมย์ <br />\nต้นกำเนิดเกิดมาจากอเมริกา </span></span>                  <span><span style=\"background-color: #ccffcc\">ไทยนำมาขยายพันธุ์ได้เหมาะสม <br />\nแพร่หลายเป็นที่รู้จักคนนิยม</span></span>                    <span><span style=\"background-color: #ccffcc\">เราชื่นชมดอกไม้ประจำโรงเรียน</span></span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u53491/original_NB14.gif\" border=\"0\" width=\"402\" height=\"77\" /><img src=\"/\" border=\"0\" width=\"1\" height=\"1\" /><img src=\"/files/u53491/dukdik_25_out.gif\" border=\"0\" width=\"84\" height=\"98\" />\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u53491/1281074895_______2.jpg\" border=\"0\" width=\"303\" height=\"88\" style=\"width: 261px; height: 65px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #de0c92\">Exposure pink trumpet-tree</span> \n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #800000\">If a tree with a very thin trunk is put in shelter, <br />\nit could be useful to secure it to a solid stake, which can keep it erect, <br />\nand protect it from the damage caused by strong winds.<br />\nPlant which need at least a few hours a day of solar light.<br />\nThese plants can be brought outside only if there isn\'t any more danger of freezings. <br />\nUsually they are moved to the garden, or terrace, during the months of April-May.<br />\n</span><br />\n<span style=\"background-color: #ffcc99\">Fertilization pink trumpet-tree</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #cc99ff\">Let’s fertilize the plants when implanting them, <br />\nor every 2-3 years, towards the end of the winter or beginning of Autumn. <br />\nA good quantity of organic fertilizer, <br />\nsuch as manure or earthworm humus should be mixed to the soil at the foot of the stem; <br />\nin this manner we will supply it with a good quantity of nutrients and we will also improve the mixture of the soil. </span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u53491/original_NB14.gif\" border=\"0\" width=\"402\" height=\"77\" /><img src=\"/files/u53491/dukdik_25_out.gif\" border=\"0\" width=\"84\" height=\"98\" style=\"width: 55px; height: 66px\" />\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u53491/s.jpg\" border=\"0\" width=\"303\" height=\"88\" style=\"width: 270px; height: 70px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #800000\">ชมพูพันธ์ทิพย์</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #cc99ff\"></span><span style=\"background-color: #ffcc00\">ดอกไม้ชื่องามที่ทำให้ฉันหลงรักตั้งแต่ยังไม่เคยเห็น<br />\nดอกเล็กๆบานสะพรั่ง ที่ร่วงพราวยามฝนหลั่ง<br />\nกลีบดอกเล็กบอบบาง สีชมพูจาง เนียนตา  <br />\nสะบัดพลิ้วไปมาอย่างมีชีวิตชีวายามสายลมแวะมาทักทาย </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffcc00\">นิทานเรื่องหนึ่ง ที่กล่าวขานถึงตำนานของชมพูพันธ์ทิพย์<br />\nเรื่องราวของชมพูพันธ์ทิพย์กับเทพลมคนรัก ที่ต้องคำสาปทำให้ไม่สามารถอยู่ด้วยกันได้<br />\nแต่จะสามารถพบกันได้เมื่อยามฝนหลั่ง<br />\nดอกชมพูพันธ์ทิพย์บานสะพรั่งรอคนรัก  แต่เจ้าก็บานอย่างเศร้าสร้อย<br />\nเมฆฝนสีเทาครึ้มบนฟ้า ก็จ้องมองคนรักอย่างเศร้าสร้อย<br />\nแต่ด้วยคำสาปแต่โบราณทำให้ทั้งสองไม่สามารถถูกเนื้อต้องตัวกันได้<br />\nเมื่อเทพลมกลายเป็นฝนหยดลงมาต้องดอกชมพูพันธทิพย์<br />\nดอกไม้ซีดจางนั้นก็ถูกคลอนแคลนจากกิ่งร่วงลงไปสู่ดิน โดยที่ไม่ทันได้โอบกอดหรือว่าพูดคุยกัน<br />\nฝนตกทุกครั้ง ดอกไม้ก็จะร่วงหล่น จนกระทั่งเมื่อเมฆฝนของฤดูฝนหมดฟ้า ดอกไม้ก็ร่วงหมดต้นพอดี </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffcc00\">เป็นเรื่องแสนเศร้า เมื่อคนที่รักกันแต่ไม่สามารถอยู่ด้วยกันได้<br />\nแต่สิ่งที่สำคัญที่อยากจะบอกคือ………..ความหวัง <br />\nถึงแม้ชมพูพันธ์ทิพย์กับคนรักจะไม่ได้อยู่ด้วยกัน<br />\nแต่พวกเขาก็ยังคงมีความสุขกับความหวังที่จะได้พบกันทุกปี<br />\nมนุษย์เราไม่ใช่ดอกไม้กับสายลม นับว่ายังโชคดีนักที่ไม่ได้ต้องคำสาปเช่นนี้<br />\nเพราะฉะนั้น หากยังมีความหวัง  หากมีโอกาสที่จะได้รัก <br />\nก็จงรักเสียเถิด……. ก่อนที่ความรักนั้นจะหลุดลอยไป </span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u53491/original_NB14.gif\" border=\"0\" width=\"402\" height=\"77\" /><img src=\"/files/u53491/dukdik_25_out.gif\" border=\"0\" width=\"84\" height=\"98\" style=\"width: 49px; height: 56px\" />\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u53491/bbb.jpg\" border=\"0\" width=\"303\" height=\"88\" style=\"width: 252px; height: 66px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #3366ff\"><span style=\"background-color: #666699\">สามารถนำใบต้มแก้เจ็บท้องหรือท้องเสียตำให้ละเอียดใส่แผล ลำต้น ใช้ทำฟืน และเยื่อใช้ทำกระดาษได้ </span></span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #3366ff\"><span style=\"background-color: #000080\"><span style=\"background-color: #800000\"><span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #3366ff\"><span style=\"background-color: #666699\">รากใช้ปรุงเป็นยาขับประจำเดือน</span></span></span></span></span></span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u53491/original_NB14.gif\" border=\"0\" width=\"402\" height=\"77\" /><img src=\"/files/u53491/dukdik_25_out.gif\" border=\"0\" width=\"84\" height=\"98\" style=\"width: 51px; height: 53px\" />\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u53491/match.jpg\" border=\"0\" width=\"303\" height=\"88\" style=\"width: 267px; height: 71px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #3366ff\">ต้นชมพูพันธุ์ทิพย์ ต้นชมพูพันทิพย์ สูง 1.3-2.5 เมตร </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #3366ff\">ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ผลัดใบ ออกดอกสีชมพู </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #3366ff\">ราคา 30-250 </span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u53491/original_NB14.gif\" border=\"0\" width=\"402\" height=\"77\" /><img src=\"/files/u53491/dukdik_25_out.gif\" border=\"0\" width=\"84\" height=\"98\" style=\"width: 47px; height: 66px\" />\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u53491/ooo.jpg\" border=\"0\" width=\"303\" height=\"88\" style=\"width: 265px; height: 62px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #99cc00\">ประมาณปี พ ศ. 2540 มีการเตรียมสร้างตึกใหม่หลายตึกในมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ขณะนั้นมีงานทดลองปลูกเห็ดธรรมชาติหลายชนิดที่ภาควิชาจุลชีววิทยา มก. จึงได้มีการนำท่อนไม้ชมพูพันธุ์ทิพย์ <br />\nมาเพาะเชื้อเห็ดต่างๆ คือเห็ดหูหนู เห็ดลม เห็ดขอนขาว เห็ดตีนแรด เห็ดนางรม เห็ดนางฟ้าภูฐาน เห็ดเป๋าฮื้อ เป็นต้น โดยเจาะรูลึกครึ่งนิ้ว ขนาดกว้างครึ่งนิ้ว ถ้าบริเวณใดมีเปลือกหนาก็เจาะให้ลึกยิ่งขึ้นจนทะลุเปลือก ลงไปถึงเนื้อไม้หน่อยหนึ่ง <br />\nใส่เชื้อเห็ดที่จากเมล็ดข้าวฟ่าง ปิดด้วยผ้าพลาสติกเก็บไว้ในที่ร่ม 1 เดือนจึงนำมาวางบริเวณข้างตึกจุลชีววิทยา เพื่อให้เปียกฝน ถ้าฝนไม่ตกก็รดน้ำ เวลาผ่านไป 3 เดือนเห็ดที่เพาะเชื้อลงไปก็ออกมากระปริบกระปรอย จำนวนน้อย <br />\nไม่พอที่นำมาบันทึกเป็นตัวเลขได้ แต่เมื่อเข้าเดือนที่ 3 กลับพบเห็ดตีนปลอกขึ้นที่ท่อนไม้จำนวนมาก จากนั้นเวลาที่ฝนตกมากก็จะมีการเกิดดอกเห็ดตีนปลอกขึ้นเป็นจำนวนมากทุกครั้ง ต่อเนื่องหลายปีจนกระทั่งท่อนไม้ผุพังสลายตัวหมดสภาพไป <br />\nครั้งแรกมองผิวเผินเข้าใจว่าเป็นเห็ดกระด้างหรือเห็ดลม แต่เมื่อตรวจสอบกับหนังสือเห็ดเมืองไทยของอาจารย์อนงค์ จันทร์ศรีกุล แล้วจึงจำแนกว่าเป็นเห็ดตีนปลอก </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #33cccc\">ประโยชน์ - ทรงพุ่มสวย ดอกสวยมีสีสัน ให้ร่มเงา ปลูกริมถนน ลานจอดรถ ปลูกเป็นกลุ่มในสนามโล่ง ทนน้ำท่วมชัง แต่กิ่งเปราะไม่เหมาะปลูกใกล้สนามเด็กเล่น เพราะกิ่งเปราะ ดอกร่วงมาก</span>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u53491/original_NB14.gif\" border=\"0\" width=\"402\" height=\"77\" /><img src=\"/files/u53491/dukdik_25_out.gif\" width=\"84\" height=\"98\" style=\"width: 48px; height: 67px\" />\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p><!--pagebreak--><!--pagebreak--></p><p><img src=\"/files/u53491/art.jpg\" border=\"0\" width=\"303\" height=\"88\" style=\"width: 259px; height: 71px\" />                                    \n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<iframe src=\"http://www.youtube.com/embed/3AGmaJK6B-s\" height=\"345\" width=\"420\" frameborder=\"0\"></iframe>\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u53491/original_NB14.gif\" border=\"0\" width=\"402\" height=\"77\" /><img src=\"/files/u53491/dukdik_25_out.gif\" border=\"0\" width=\"84\" height=\"98\" style=\"width: 52px; height: 65px\" />\n</p>\n<p>\n<img src=\"/files/u53491/scien.jpg\" border=\"0\" width=\"303\" height=\"88\" style=\"width: 263px; height: 64px\" />\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ff6600\">ชื่อ ชมพูพันธุ์ทิพย์ ชื่อวิทยาศาสตร์ Tabebuia rosea (Bertol.) DC<br />\nชื่ออื่น ชมพูอินเดีย, ธรรมบูชา, ตาเบบูยา วงศ์ Bignoniaceae ลักษณะทั่วไป<br />\n•ไม้ต้น สูง 8-25 เมตร เรือนยอดแผ่กว้างเป็นชั้นๆ ไม่ผลัดใบ<br />\n• เปลือกสีน้ำตาลหรือสีเทา<br />\n• ใบประกอบรูปนิ้วมือ เรียงตรงข้าม ใบเป็นแผ่นรูปรีปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบ<br />\n• ดอกสีชมพูอ่อน ออกเป็นช่อกระจุกตามง่ามใบ และที่ปลายกิ่ง<br />\nชมพูพันธุ์ทิพย์อยู่ในวงศ์  Bignoniaceae  เช่นเดียวกับทองอุไรและศรีตรัง  </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #339966\">ข้อคิดเห็นจากชาวสตรีศรีสุริโยทัย</span>    <img src=\"/files/u53491/dukdik_25_out.gif\" border=\"0\" width=\"84\" height=\"98\" style=\"width: 15px; height: 38px\" /> \n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #808000\">น.ส.สุดารัตน์   มุสันเทียะ  ม.6/2  เลขที่ 35</span>   \n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #808000\">เ</span><span style=\"background-color: #808000\">นื้อหามีสาระดี แต่ควรตกแต่งเพิ่มให้สวยงาม และ หาเนื้อหาเพิ่ม</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ff99cc\">น.ส.อัฐภิญญา  ปัญญาวชิรญาณ  ม.6/2 เลขที่ 31</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ff99cc\">มีความสวยงามพอประมาณ  แต่เนื้อหายังไม่ครอบคลุม  ควรหาเนื้อหาเพิ่ม</span>\n</p>\n<p>\n<br />\n<span style=\"background-color: #ffcc00\">น.ส.ปรียานุช   รุ่งศรานนท์ ม.6/2 เลขที่ 40</span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #ffcc00\">มีความสวยงาม แต่ควรตกแต่งเพิ่มและจัดหน้าให้เหมาะสม</span>\n</p>\n', created = 1727558909, expire = 1727645309, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:ae38dd19407c5ce298178a5dafd2efde' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ต้นชมพูพันธุ์ทิพย์:แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย

รูปภาพของ sss28118

 

 qrcode

 

 

 

แหล่งที่มาของภาพ  น.ส.อนรรฆวี   สุกใส

แหล่งที่มาของภาพ http://www.skn.ac.th/skl/skn422/garden/info3-2.jpg

ชื่อ ชมพูพันธุ์ทิพย์

ชื่อวิทยาศาสตร์ Tabebuia rosea (Bertol.) DC
ชื่ออื่น ชมพูอินเดีย, ธรรมบูชา, ตาเบบูยา วงศ์ Bignoniaceae ลักษณะทั่วไป
•ไม้ต้น สูง 8-25 เมตร เรือนยอดแผ่กว้างเป็นชั้นๆ ไม่ผลัดใบ
• เปลือกสีน้ำตาลหรือสีเทา
• ใบประกอบรูปนิ้วมือ เรียงตรงข้าม ใบเป็นแผ่นรูปรีปลายใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบ
• ดอกสีชมพูอ่อน ออกเป็นช่อกระจุกตามง่ามใบ และที่ปลายกิ่ง
ชมพูพันธุ์ทิพย์อยู่ในวงศ์  Bignoniaceae  เช่นเดียวกับทองอุไรและศรีตรัง 

แหล่งที่มาของภาพ http://www.trekkingthai.com/webboard/trip/3408.jpg

เป็นไม้ยืนต้นผลัดใบขนาดกลาง  สูงราว ๘-๑๒ เมตร  ใบเป็นแบบผสม  มีใบย่อย ๕ ใบบนต้นเดียวกัน  แผ่ออกคล้ายใบปาล์ม  ผิวไม่เรียบ  ปลายใบแหลม  ยาวประมาณ ๑๒ เซนติเมตรกิ่งก้านสาขาแผ่ออกเป็นพุ่มค่อนข้างแน่น ชมพูพันธุ์ทิพย์  ใบแก่และทิ้งใบในฤดูหนาว  ช่วงเดือนพฤศจิกายน-มกราคม  หลังจากนั้นจะออกดอกช่วงเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน  ดอกออกเป็นช่อตามกิ่งก้าน  ช่อละ ๕-๘ ดอก 
ดอกย่อยลักษณะคล้ายดอกผักบุ้งหรือปากแตร  คือโคนดอกเป็นหลอดยาวปลายดอกบานออกเป็น ๕ กลีบ  กลีบดอกบาง
ย่นเป็นจีบๆ และร่วงหล่นง่าย  จะเห็นดอกชมพูพันธุ์ทิพย์ร่วงหล่นกระจายอยู่รอบๆ ต้น  งดงามพอๆ กับที่บานอยู่บนต้น 
ดอกย่อยแต่ละดอกกว้างราว ๘ เซนติเมตร  ยาวราว ๑๕ เซนติเมตร   สีของกลีบดอกปกติเป็นสีชมพูสดใส  แต่มีความเข้มและจางแตกต่างกันไป
โดยเฉพาะต้นที่เกิดจากเมล็ดจะมีความผันแปรมากมาย  ตั้งแต่สีชมพูจางเกือบขาวไปจนถึงสีเข้มเกือบเป็นสีม่วงแดง
เมื่อดอกชมพูพันธุ์ทิพย์ร่วงหล่นแล้ว  จะติดฝักรูปร่างคล้ายมวนบุหรี่  ยาวราว  ๑๕ เซนติเมตร
เมื่อฝักแก่ราวเดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม  จะแตกออกด้านเดียวตามยาวแล้วเมล็ดที่มีปีกก็ปลิวไปตามลมได้ไกลๆ
ต้นกำเนิดของชมพูพันธุ์ทิพย์  อยู่ในเขตร้อนของทวีปอเมริกาใต้  ต่อมาได้ถูกนำไปปลูกในเขตร้อนทวีปต่างๆ อย่างแพร่หลายรวมทั้งประเทศไทย สำหรับประเทศไทยมีบันทึกเป็นหลักฐานว่า  เป็นผู้นำเข้ามาในประเทศครั้งแรกคือ  กรมหมื่นนครสวรรค์ศักดิ์พินิต  และ ม.ร.ว.พันธุ์ทิพย์  บริพัตร  จึงตั้งชื่อตามสีดอก และเป็นเกียรติแก่ผู้นำเข้าว่า  ชมพูพันธุ์ทิพย์  ชื่อเดิมคือ ตาเบบูย่า  มีชื่ออื่นๆ คือ  แตรชมพู  ธรรมบูชา  ชื่อในภาษาอังกฤษคือ  Pink  Trumpet Tree ตามลักษณ์ของดอกนั่นเอง

แหล่งที่มาของภาพ .ส.อนรรฆวี   สุกใส

ประโยชน์ของชมพูพันธุ์ทิพย์
ชมพูพันธุ์ทิพย์เป็นต้นไม้ที่ปลูกง่าย  ทนทานต่อดินฟ้าอากาศ  และโรคแมลง  โตเร็ว  มีดอกงดงาม
ทรงพุ่มสวยดอกสวยมีสีสัน ให้ร่มเงา ปลูกริมถนน ลานจอดรถ ปลูกเป็นกลุ่มในสนามโล่ง ทนน้ำท่วมชัง
แต่กิ่งเปราะไม่เหมาะปลูกใกล้สนามเด็กเล่น เพราะกิ่งเปราะ ดอกร่วงมาก  จึงนิยมนำไปปลูกเป็นไม้ประดับ
และร่มเงาในบริเวณสถานที่ราชการ สวนสาธารณะ และตามถนนหนทาง  เนื่องจากเป็นต้นไม้ที่เพิ่ง
เข้ามาเมืองไทยได้ไม่กี่สิบปี  จึงยังไม่มีข้อมูลเกี่ยวกับการใช้ประโยชน์ทางสมุนไพรและด้านอาหาร 
ต้นกำเนิดของชมพูพันธุ์ทิพย์  

ชมพูพันธุ์ทิพย์กับความเชื่อของนักเรียนโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย
นักเรียนในโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัยมีความเชื่อในเรื่องของต้นชมพูพันธุ์ทิพย์ว่า
หากปีใดต้นชมพูพันธุ์ทิพย์ผลิดอกมากมาย นั่นแสดงว่าปีนั้นจะมีนักเรียนในโรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สามารถสอบเข้ามหาวิทยาลัยได้เป็นจำนวนมาก
และความเชื่อนี้ก็ได้แพร่มาถึงรุ่นน้อง ๆ ต่อ ๆ กันมา จึงถือได้ว่ามีความสำคัญกับนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เป็นอย่างยิ่ง

Exposure pink trumpet-tree

If a tree with a very thin trunk is put in shelter,
it could be useful to secure it to a solid stake, which can keep it erect,
and protect it from the damage caused by strong winds.
Plant which need at least a few hours a day of solar light.
These plants can be brought outside only if there isn't any more danger of freezings.
Usually they are moved to the garden, or terrace, during the months of April-May.

Fertilization pink trumpet-tree

Let’s fertilize the plants when implanting them,
or every 2-3 years, towards the end of the winter or beginning of Autumn.
A good quantity of organic fertilizer,
such as manure or earthworm humus should be mixed to the soil at the foot of the stem;
in this manner we will supply it with a good quantity of nutrients and we will also improve the mixture of the soil.

       

แหล่งที่มาของภาพ น.ส.อนรรฆวี   สุกใส

แหล่งอ้างอิง http://bossy-boop3.blogspot.com/

http://www.doctor.or.th/node/1591

แหล่งที่มาของวิดีโอ http://youtu.be/v-gKs-v19_A

 

แหล่งที่มา http://maps.google.co.th/maps?hl=th&tab=wl

•เลขที่ 1 ซอยเจริญกรุง 57  ถนนเจริญกรุง แขวงยานนาวา เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120 
•โทรศัพท์ :  0-2211-0383 , 0-211-9850
•Website : 
http://www.suriyothai.ac.th

รูปภาพของ sss28122

 เนื้อหาได้สาระความรู้ดี

             มีการตกเเต่ง เพื่อเพิ่มความน่าสนใจดี

             เเบรนเนอร์สวย  Smile

รูปภาพของ ssspoonsak

ตรวจครั้งที่ 2 ยังไม่มีการปรับปรุงเพิ่มเติม

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

รูปภาพของ ssspoonsak

1. น่าจะทำเป็นป้ายแบนเนอร์ชื่อเรื่อง

2. รูปภาพที่ถ่ายมาน่าจะมีการตกแต่งให้ดูดี

3. ควรบอกสถานที่อยู่ของแหล่งเรียนรู้ และจำนวนแหล่งเรียนรู้ที่นำเสนอว่ามีกี่แห่ง

4. ควรมีข้อคิดเห็นจากสมาชิกของชาวสตรีศรีสุริโยทัย

5. ใช้ Google Map บอกที่ตั้งของแหล่งเรียนรู้

6. ควรสรุปเนื้อหาทั้งหมดเป็นภาษาอังกฤษ ความยาวประมาณ 5 บรรทัด

7. ควรบูรณาการเข้ากับสาระวิชาทั้ง 8 กลุ่มสาระวิชาที่กำลังเรียนอยู่ให้ได้

8. ใช้คำสั่ง <!--pagebreak--> เพื่อแบ่งหน้าให้เหมาะสมด้วย

จึงขอมอบนกแก้วไปเลี้ยงก่อนนะ

 
แหล่งที่มาของภาพ http://img.kapook.com/image/pet/indian-parrot.jpg

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

รูปภาพของ ssspoonsak

รวดเร็วดี แต่น่าจะมีรูปต้นชมพูพันธุ์ทิพย์ในโรงเรียน และข้อมูลเกี่ยวกับต้นชมพูพันธุ์ทิพย์ในโรงเรียนด้วย

เอานกแก้วไปเลี้ยงก่อนนะ

 
แหล่งที่มาของภาพ http://img.kapook.com/image/pet/indian-parrot.jpg

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 253 คน กำลังออนไลน์