• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:656c60ffb4845f62c26ec72214fe6aba' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<strong>15 ปี &quot;เวิลด์ ไวด์ เว็บ&quot; วันนี้ยังเป็นแค่ &quot;ทารก&quot;</strong>\n</p>\n<p>คอลัมน์ Clickworld<br />\n<span style=\"font-size: x-small\"><img bordercolor=\"#000000\" border=\"1\" align=\"bottom\" src=\"http://www.matichon.co.th/news-photo/prachachat/2008/05/com08080551p1.jpg\" /></span>\n</p>\n<p>\n          เกิดของ &quot;World Wide Web&quot; (www) ที่เปิดตัวสู่สาธารณะอย่างเป็นทางการ หลังจากได้รับการอนุมัติจากองค์การเพื่อการวิจัยด้านนิวเคลียร์แห่งยุโรป (European Organization for Nuclear Research) หรือ CERN ซึ่งถือเป็นสถานที่แจ้งเกิด &quot;เว็บ&quot; ซึ่งยอมจรดปากกาเซ็นอนุญาตให้คนทั่วไปสามารถใช้ www ได้ฟรี\n</p>\n<p>\n          จวบจนถึงวันนี้ www จึงมีอายุครบ 15 ปีเต็ม และทำหน้าที่เป็นประตูเข้าสู่โลกอินเทอร์เน็ต โดยผู้ใช้งานไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ใดๆ ทำให้ปัจจุบันมีเว็บไซต์ ปรากฏโฉมบนโลกไซเบอร์แล้วมากกว่า165 ล้านเว็บไซต์\n</p>\n<p>\n          ถึงแม้ว่า &quot;ทิม เบอร์เนอร์ส-ลี&quot; บิดาแห่ง www จะออกมายอมรับว่า เขาเริ่มทำงานโปรเจ็กต์อินเทอร์เน็ตตั้งแต่ปี 1989 แต่การตัดสินใจให้ www อยู่ในสถานะ &quot;ฟรี&quot; แทนที่จะนำมาใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์นั้น ถือเป็นความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่ครั้งหนึ่งและเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ www สามารถแพร่กระจายไปทั่วโลกได้ในเวลาอันรวดเร็ว\n</p>\n<p>\n          &quot;ทิม เบอร์เนอร์ส-ลี&quot; ให้สัมภาษณ์กับบีบีซี นิวส์ ว่า เว็บในปัจจุบันยังคงอยู่ในขั้นที่เรียกว่าระดับทารก หากเทียบกับความสามารถของเว็บไซต์ในอนาคตที่จะพัฒนาเป็น Semantic web ที่จะมีความสามารถในการเข้าใจความหมายทางภาษา ในการเป็นสถานที่บรรจุข้อมูลทุกอย่างบนโลก ภายใต้ปลายนิ้วของผู้ใช้งานทุกคน และกลายเป็นเครื่องมืออันยอดเยี่ยมสำหรับมนุษย์ในการทำสิ่งที่ดีต่างๆ แม้ว่าจะมีสิ่งที่ไม่ดีซ่อนอยู่เช่นกัน และในอนาคตเราจะพบว่าเว็บจะเป็นสถานที่ร่วมมือของคนจำนวนมากทั่วโลก เพื่อเปิดประสบการณ์แปลกใหม่อันน่ามหัศจรรย์และจะคงดำเนินเช่นนี้ต่อไปอย่างต่อเนื่อง\n</p>\n<p>\n          &quot;สิ่งที่น่าตื่นเต้น คือ คนสามารถสร้างระบบสังคมใหม่ ระบบการคิดทบทวนใหม่ และระบบการบริหารจัดการใหม่ สิ่งที่ผมหวังคือ กระบวนการต่างๆ จะสร้างหนทางใหม่ในการทำงานร่วมกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพและมีความยุติธรรมมากขึ้น และเราสามารถใช้ความเป็นสากลของเว็บเพื่อจัดการโลกที่เราอาศัยอยู่ได้&quot;\n</p>\n<p>\n          &quot;โรเบริต์ เคลล์ลัว&quot; ผู้ทำงานร่วมกับ ทิม เบอร์เนอร์ส-ลี เพื่อพัฒนาเว็บรุ่นบุกเบิก กล่าวว่า สิ่งที่อยากจะเห็นในอนาคต คือ กฎหมายที่เข้ามาจัดการกับเว็บที่มีอยู่ทั่วโลกได้ เพราะตั้งแต่เว็บถูกนำไปใช้แพร่หลาย ยังไม่มีกฎเกณฑ์ที่เข้ามาควบคุมพฤติกรรม ผู้ใช้ หรือกฎหมายที่เป็นระดับสากลและได้รับการยอมรับทั่วโลก ขณะเดียวกัน ควรจะหยุดวงจรอุบาทว์ระหว่างผู้เขียน ผู้อ่าน และนักโฆษณา เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้อ่านเป็นคนตัดสินใจเองว่าเขาอยากจะเสียเวลาดูคอนเทนต์ที่ถูก ยัดเยียดเหล่านั้นหรือไม่\n</p>\n<p>\n          &quot;เศรษฐศาสตร์บนเว็บควรที่จะถูกควบคุมโดยผู้เขียนและผู้อ่าน ไม่ใช่นักโฆษณา และผมเชื่อว่า Semantic web ที่กำลังจะเกิดขึ้นอาจจะไม่ใช่สิ่งที่ดี เพราะเราไม่รู้ว่าใครจะเป็นผู้ที่เข้ามาควบคุมอีก&quot;\n</p>\n<p>\n          นอกจากนี้ ยังมีนักวิชาการหลายรายได้แสดงความเห็นเกี่ยวกับเว็บในอนาคตไว้อย่างน่าสนใจ เช่น\n</p>\n<p>\n          ศาสตราจารย์นิเกิล เชตบอลต์ คณะวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเซาท์แทมตัน กล่าวว่า ปัจจุบันเราอยู่ในช่วงผู้ใช้งานเป็นผู้สร้างคอนเทนต์ขึ้นเอง โดยประมาณ 80% ของคอนเทนต์ในปัจจุบันถูกสร้างจากผู้ใช้งานทั่วไป และมีเพียง 20% เท่านั้นที่หน่วยงานขนาดใหญ่เป็นผู้สร้างขึ้น ดังนั้น สิ่งที่น่าจับตามมองต่อไป คือ เราจะจัดการกับ &quot;สึนามิ&quot; ทางข้อมูลข่าวสารที่มีปริมาณมากในอนาคตได้อย่างไร\n</p>\n<p>\n          &quot;อนาคตของเว็บ คือ Semantic web หรือเว็บ 3.0 ซึ่งจะสามารถช่วยจัดการข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่เป็นจำนวนมากได้ ความสามารถของเสิร์ชเอ็นจิ้นจะฉลาดขึ้น และจะสามารถประมวลผลหรือรวบรวมข้อมูลต่างๆ ให้แก่ผู้ใช้งานได้&quot;\n</p>\n<p>\n          ส่วนศาสตราจารย์เวนดี้ ฮอลล์ จากสถาบันเดียวกัน กล่าวว่า ทุกสิ่งทุกอย่างจะเข้าสู่รูปแบบการเคลื่อนที่ และ 2-3 ปีต่อจากนี้ เราจะสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ทุกที่ทุกเวลาและไม่จำเป็นต้องอยู่เฉพาะหน้าคอมพิวเตอร์อีกต่อไป คนที่ไม่สามารถซื้อคอมพิวเตอร์ได้จะเข้าสู่อินเทอร์เน็ตผ่านมือถือหรืออุปกรณ์สื่อสารรูปแบบต่างๆซึ่งถือเป็นการเปลี่ยนแปลงการสื่อสาร ครั้งใหญ่ครั้งหนึ่ง\n</p>\n<p>\n          เดวิท จี บีแลนเกอร์ หัวหน้านักวิทยาศาสตร์ จากเอที แอนด์ ที กล่าวว่า ความท้าทายของเว็บในอนาคตหรือสิ่งที่กำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน คือ ความหลากหลายของแอปพลิเคชั่นที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นและต้องการจะเข้ามาอยู่บนอินเทอร์เน็ต ไม่ว่าจะเป็นวิดีโอ ภาพ ซึ่งก่อให้เกิด ราฟฟิกจำนวนมาหาศาล และในช่วงเวลาเดียวกันเรากำลังก้าวเข้าสู่ยุคการติดต่อสื่อสารทั้งด้านเสียงและมัลติมีเดียแบบเรียลไทม์ ดังนั้น ลักษณะพิเศษของแอปพลิเคชั่นแต่ละชนิดที่แตกต่างกันแต่ต้องการเข้ามาอยู่บนเครือข่ายเดียวกันจึงเป็นความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ เพราะการแก้ไขปัญหาจะต้องไม่กระทบกับประสิทธิภาพการทำงานที่มีอยู่ในปัจจุบัน\n</p>\n<p>\n          ด้านคนในวงการสื่ออย่าง &quot;ทิม โอ เรียลลี่&quot; ผู้ก่อตั้งโอเรียลลี่ มีเดีย กล่าวว่า เรากำลังเข้าสู่โลกที่เต็มไปด้วยอุปกรณ์ที่สามารถเชื่อมต่อถึงกันได้ตลอดเวลา รวมถึงระบบเซ็นเซอร์ที่จะพบได้ทุกที่ ดังนั้น เราอาจจะเห็นเครือข่ายโทรศัพท์ เครือข่ายเซ็นเซอร์ สามารถทำงานร่วมกับเว็บได้มากขึ้น วิธีการสื่อสารของคนจะเปลี่ยนไป และจะส่งผลต่อวัฒนธรรมการทำงาน ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงในอนาคตของเว็บจึงอาจจะยิ่งใหญ่กว่าครั้งยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม\n</p>\n<p>\n          &quot;ตอนนี้เรากำลังอยู่ในช่วงยุคฟื้นฟูใหม่ แต่ไม่ได้หมายความว่าทุกสิ่งทุกอย่างจะดี ไปหมด เพราะในช่วงเวลาเดียวกันสิ่งไม่ดีมีอยู่เป็นจำนวนมากเช่นกัน&quot;\n</p>\n', created = 1715965296, expire = 1716051696, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:656c60ffb4845f62c26ec72214fe6aba' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

15 ปี "เวิลด์ ไวด์ เว็บ" วันนี้ยังเป็นแค่ "ทารก"

รูปภาพของ ssspoonsak

15 ปี "เวิลด์ ไวด์ เว็บ" วันนี้ยังเป็นแค่ "ทารก"

คอลัมน์ Clickworld

          เกิดของ "World Wide Web" (www) ที่เปิดตัวสู่สาธารณะอย่างเป็นทางการ หลังจากได้รับการอนุมัติจากองค์การเพื่อการวิจัยด้านนิวเคลียร์แห่งยุโรป (European Organization for Nuclear Research) หรือ CERN ซึ่งถือเป็นสถานที่แจ้งเกิด "เว็บ" ซึ่งยอมจรดปากกาเซ็นอนุญาตให้คนทั่วไปสามารถใช้ www ได้ฟรี

          จวบจนถึงวันนี้ www จึงมีอายุครบ 15 ปีเต็ม และทำหน้าที่เป็นประตูเข้าสู่โลกอินเทอร์เน็ต โดยผู้ใช้งานไม่ต้องเสียค่าลิขสิทธิ์ใดๆ ทำให้ปัจจุบันมีเว็บไซต์ ปรากฏโฉมบนโลกไซเบอร์แล้วมากกว่า165 ล้านเว็บไซต์

          ถึงแม้ว่า "ทิม เบอร์เนอร์ส-ลี" บิดาแห่ง www จะออกมายอมรับว่า เขาเริ่มทำงานโปรเจ็กต์อินเทอร์เน็ตตั้งแต่ปี 1989 แต่การตัดสินใจให้ www อยู่ในสถานะ "ฟรี" แทนที่จะนำมาใช้ประโยชน์เชิงพาณิชย์นั้น ถือเป็นความสำเร็จครั้งยิ่งใหญ่ครั้งหนึ่งและเป็นเหตุผลสำคัญที่ทำให้ www สามารถแพร่กระจายไปทั่วโลกได้ในเวลาอันรวดเร็ว

          "ทิม เบอร์เนอร์ส-ลี" ให้สัมภาษณ์กับบีบีซี นิวส์ ว่า เว็บในปัจจุบันยังคงอยู่ในขั้นที่เรียกว่าระดับทารก หากเทียบกับความสามารถของเว็บไซต์ในอนาคตที่จะพัฒนาเป็น Semantic web ที่จะมีความสามารถในการเข้าใจความหมายทางภาษา ในการเป็นสถานที่บรรจุข้อมูลทุกอย่างบนโลก ภายใต้ปลายนิ้วของผู้ใช้งานทุกคน และกลายเป็นเครื่องมืออันยอดเยี่ยมสำหรับมนุษย์ในการทำสิ่งที่ดีต่างๆ แม้ว่าจะมีสิ่งที่ไม่ดีซ่อนอยู่เช่นกัน และในอนาคตเราจะพบว่าเว็บจะเป็นสถานที่ร่วมมือของคนจำนวนมากทั่วโลก เพื่อเปิดประสบการณ์แปลกใหม่อันน่ามหัศจรรย์และจะคงดำเนินเช่นนี้ต่อไปอย่างต่อเนื่อง

          "สิ่งที่น่าตื่นเต้น คือ คนสามารถสร้างระบบสังคมใหม่ ระบบการคิดทบทวนใหม่ และระบบการบริหารจัดการใหม่ สิ่งที่ผมหวังคือ กระบวนการต่างๆ จะสร้างหนทางใหม่ในการทำงานร่วมกันได้อย่างมี ประสิทธิภาพและมีความยุติธรรมมากขึ้น และเราสามารถใช้ความเป็นสากลของเว็บเพื่อจัดการโลกที่เราอาศัยอยู่ได้"

          "โรเบริต์ เคลล์ลัว" ผู้ทำงานร่วมกับ ทิม เบอร์เนอร์ส-ลี เพื่อพัฒนาเว็บรุ่นบุกเบิก กล่าวว่า สิ่งที่อยากจะเห็นในอนาคต คือ กฎหมายที่เข้ามาจัดการกับเว็บที่มีอยู่ทั่วโลกได้ เพราะตั้งแต่เว็บถูกนำไปใช้แพร่หลาย ยังไม่มีกฎเกณฑ์ที่เข้ามาควบคุมพฤติกรรม ผู้ใช้ หรือกฎหมายที่เป็นระดับสากลและได้รับการยอมรับทั่วโลก ขณะเดียวกัน ควรจะหยุดวงจรอุบาทว์ระหว่างผู้เขียน ผู้อ่าน และนักโฆษณา เพื่อเปิดโอกาสให้ผู้อ่านเป็นคนตัดสินใจเองว่าเขาอยากจะเสียเวลาดูคอนเทนต์ที่ถูก ยัดเยียดเหล่านั้นหรือไม่

          "เศรษฐศาสตร์บนเว็บควรที่จะถูกควบคุมโดยผู้เขียนและผู้อ่าน ไม่ใช่นักโฆษณา และผมเชื่อว่า Semantic web ที่กำลังจะเกิดขึ้นอาจจะไม่ใช่สิ่งที่ดี เพราะเราไม่รู้ว่าใครจะเป็นผู้ที่เข้ามาควบคุมอีก"

          นอกจากนี้ ยังมีนักวิชาการหลายรายได้แสดงความเห็นเกี่ยวกับเว็บในอนาคตไว้อย่างน่าสนใจ เช่น

          ศาสตราจารย์นิเกิล เชตบอลต์ คณะวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์ มหาวิทยาลัยเซาท์แทมตัน กล่าวว่า ปัจจุบันเราอยู่ในช่วงผู้ใช้งานเป็นผู้สร้างคอนเทนต์ขึ้นเอง โดยประมาณ 80% ของคอนเทนต์ในปัจจุบันถูกสร้างจากผู้ใช้งานทั่วไป และมีเพียง 20% เท่านั้นที่หน่วยงานขนาดใหญ่เป็นผู้สร้างขึ้น ดังนั้น สิ่งที่น่าจับตามมองต่อไป คือ เราจะจัดการกับ "สึนามิ" ทางข้อมูลข่าวสารที่มีปริมาณมากในอนาคตได้อย่างไร

          "อนาคตของเว็บ คือ Semantic web หรือเว็บ 3.0 ซึ่งจะสามารถช่วยจัดการข้อมูลข่าวสารที่มีอยู่เป็นจำนวนมากได้ ความสามารถของเสิร์ชเอ็นจิ้นจะฉลาดขึ้น และจะสามารถประมวลผลหรือรวบรวมข้อมูลต่างๆ ให้แก่ผู้ใช้งานได้"

          ส่วนศาสตราจารย์เวนดี้ ฮอลล์ จากสถาบันเดียวกัน กล่าวว่า ทุกสิ่งทุกอย่างจะเข้าสู่รูปแบบการเคลื่อนที่ และ 2-3 ปีต่อจากนี้ เราจะสามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้ทุกที่ทุกเวลาและไม่จำเป็นต้องอยู่เฉพาะหน้าคอมพิวเตอร์อีกต่อไป คนที่ไม่สามารถซื้อคอมพิวเตอร์ได้จะเข้าสู่อินเทอร์เน็ตผ่านมือถือหรืออุปกรณ์สื่อสารรูปแบบต่างๆซึ่งถือเป็นการเปลี่ยนแปลงการสื่อสาร ครั้งใหญ่ครั้งหนึ่ง

          เดวิท จี บีแลนเกอร์ หัวหน้านักวิทยาศาสตร์ จากเอที แอนด์ ที กล่าวว่า ความท้าทายของเว็บในอนาคตหรือสิ่งที่กำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน คือ ความหลากหลายของแอปพลิเคชั่นที่มีจำนวนเพิ่มมากขึ้นและต้องการจะเข้ามาอยู่บนอินเทอร์เน็ต ไม่ว่าจะเป็นวิดีโอ ภาพ ซึ่งก่อให้เกิด ราฟฟิกจำนวนมาหาศาล และในช่วงเวลาเดียวกันเรากำลังก้าวเข้าสู่ยุคการติดต่อสื่อสารทั้งด้านเสียงและมัลติมีเดียแบบเรียลไทม์ ดังนั้น ลักษณะพิเศษของแอปพลิเคชั่นแต่ละชนิดที่แตกต่างกันแต่ต้องการเข้ามาอยู่บนเครือข่ายเดียวกันจึงเป็นความท้าทายที่ยิ่งใหญ่ เพราะการแก้ไขปัญหาจะต้องไม่กระทบกับประสิทธิภาพการทำงานที่มีอยู่ในปัจจุบัน

          ด้านคนในวงการสื่ออย่าง "ทิม โอ เรียลลี่" ผู้ก่อตั้งโอเรียลลี่ มีเดีย กล่าวว่า เรากำลังเข้าสู่โลกที่เต็มไปด้วยอุปกรณ์ที่สามารถเชื่อมต่อถึงกันได้ตลอดเวลา รวมถึงระบบเซ็นเซอร์ที่จะพบได้ทุกที่ ดังนั้น เราอาจจะเห็นเครือข่ายโทรศัพท์ เครือข่ายเซ็นเซอร์ สามารถทำงานร่วมกับเว็บได้มากขึ้น วิธีการสื่อสารของคนจะเปลี่ยนไป และจะส่งผลต่อวัฒนธรรมการทำงาน ดังนั้น การเปลี่ยนแปลงในอนาคตของเว็บจึงอาจจะยิ่งใหญ่กว่าครั้งยุคปฏิวัติอุตสาหกรรม

          "ตอนนี้เรากำลังอยู่ในช่วงยุคฟื้นฟูใหม่ แต่ไม่ได้หมายความว่าทุกสิ่งทุกอย่างจะดี ไปหมด เพราะในช่วงเวลาเดียวกันสิ่งไม่ดีมีอยู่เป็นจำนวนมากเช่นกัน"

สร้างโดย: 
ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล โรงเรียนสตรีศรีสุริโยทัย กรุงเทพมหานคร

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 318 คน กำลังออนไลน์