• user warning: Duplicate entry '536306482' for key 'PRIMARY' query: INSERT INTO accesslog (title, path, url, hostname, uid, sid, timer, timestamp) values('ห้องเรียน KruLee ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนวัดบ้านใหม่ ภาคเรียนที่ 1/2554', 'node/84021', '', '18.117.154.41', 0, 'e96512d30eb817bc6c917a5dd7c823b3', 113, 1715993217) in /home/tgv/htdocs/modules/statistics/statistics.module on line 63.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:4ce7fdb6e7d8fbac52c1b30315ecff35' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p><center><b>ยุทธหัตถี</b></center></p>\n<p>\n        กล่าวกันว่า <span style=\"color: #000000\">ใน</span><a href=\"http://null/wiki/index.php/%E0%B8%8A%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%B9%E0%B8%97%E0%B8%A7%E0%B8%B5%E0%B8%9B\" title=\"ชมพูทวีป\"><span style=\"color: #000000\">ชมพูทวีป</span></a><span style=\"color: #000000\">(ดินแดนที่เป็นอินเดีย ปากีสถาน เนปาลและบังคลาเทศในปัจจุบัน) ถือเป็นคติมาแต่ดึกดำบรรพ์ว่า ยุทธหัตถีหรือการชนช้างเป็นยอดยุทธวิธีของนักรบ เพราะเป็นการต่อสู้อย่างตัวต่อตัว แพ้ชนะกันด้วยความคล่องแคล่วแกล้วกล้า กับการชำนิชำนาญในการขับขี่ช้างชน โดยมิต้องอาศัยรี้พลหรือกลอุบายแต่อย่างใด เพราะโดยปกติ ในการทำสงครามโอกาสที่จอมทัพทั้งสองฝ่ายจะเข้าใกล้ชิดจนถึงชนช้างกันมีน้อยมาก ดังนั้น กษัตริย์พระองค์ใดกระทำยุทธหัตถีชนะ ก็จะได้รับการยกย่องว่า มีพระเกียรติยศสูงสุด และแม้แต่ผู้แพ้ก็ได้รับการยกย่องสรรเสริญว่า เป็นนักรบแท้ มิได้ติเตียนกันเลย ซึ่งคติที่ว่าเป็นความนิยมของไทยด้วยเช่นกัน </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"></span><span style=\"color: #000000\"><center></center></span></p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">        บนหลังช้างที่ทำยุทธหัตถีนั้นจะมีคนนั่งอยู่สามคน ตัว</span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B9%81%E0%B8%A1%E0%B9%88%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%9E&amp;action=edit\" title=\"แม่ทัพ\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">แม่ทัพ</span></a><span style=\"color: #000000\">จะถือ</span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B8%87%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7&amp;action=edit\" title=\"ง้าว\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">ง้าว</span></a><span style=\"color: #000000\">อยู่ที่คอช้าง คนที่นั่งกลางอยู่บน</span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%B9%E0%B8%9A&amp;action=edit\" title=\"กูบ\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">กูบ</span></a><span style=\"color: #000000\">จะถือหางนกยูงซ้ายขวาโบกเป็นสัญญาณ และคอยส่งอาวุธให้แม่ทัพ (ทราบว่าจะสับเปลี่ยนที่นั่งกันตอนกระทำการรบเท่านั้น) ที่ท้ายช้างจะมี</span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%B2%E0%B8%8D&amp;action=edit\" title=\"ควาญ\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">ควาญ</span></a><span style=\"color: #000000\">นั่งประจำที่ ตามเท้าช้างทั้งสี่มีพลประจำเรียกว่า </span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B8%88%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97&amp;action=edit\" title=\"จตุรงคบาท\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">จตุรงคบาท</span></a><span style=\"color: #000000\"> คนทั้งหมดจะถืออาวุธ เช่น ปืนปลายขอ หอกซัด ของ้าว ขอเกราะเขน แพน ถ้าเป็นช้างยุทธหัตถีจะมีหอกผูกผ้าสีแดงสองเล่ม ปืนใหญ่หันปากออกข้างขวาหนึ่งกระบอก ข้างซ้ายหนึ่งกระบอก มีนายทหารและพลทหารสวมเกราะ โพกผ้า ช้างที่เข้ากระบวนทัพจะสวมเกราะใส่เกือกหรือรองเท้าเหล็กสำหรับกันขวากหนาม โดยทั้งที่สี่เท้าสวม</span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B9%8C&amp;action=edit\" title=\"หน้าราห์\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">หน้าราห์</span></a><span style=\"color: #000000\"> มีปลอกเหล็กสวมงาทั้งคู่ และมีเกราะโว่พันงวงช้าง สำหรับพังหอค่าย โดยไม่เจ็บปวด </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<strong>ยุทธหัตถีที่สำคัญในประวัติศาสตร์ไทยมีอยู่ 5 ครั้ง</strong> คือ\n</p>\n<p>\nครั้งที่ 1 <span style=\"color: #000000\">รัชกาล</span><a href=\"http://null/wiki/index.php/%E0%B8%9E%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%82%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A2%E0%B9%8C\" title=\"พ่อขุนศรีอินทราทิตย์\"><span style=\"color: #000000\">พ่อขุนศรีอินทราทิตย์</span></a><span style=\"color: #000000\"> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ครั้งที่ 2 สิ้นรัชกาล</span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AD%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B2&amp;action=edit\" title=\"พระอินทราชา\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">พระอินทราชา</span></a><span style=\"color: #000000\"> พ.ศ. 1917 </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ครั้งที่ 3 รัชกาล</span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B9%84%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%82%E0%B8%A5%E0%B8%81%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%96&amp;action=edit\" title=\"พระบรมไตรโลกนาถ\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">พระบรมไตรโลกนาถ</span></a><span style=\"color: #000000\"> พ.ศ. 2006 </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ครั้งที่ 4 รัชกาล</span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B1%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%94%E0%B8%B4&amp;action=edit\" title=\"พระมหาจักรพรรดิ\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">พระมหาจักรพรรดิ</span></a><span style=\"color: #000000\"> พ.ศ. 2091 (เกิดวีรสตรีพระศรีสุริโยทัย) </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">ครั้งที่ 5 </span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%99%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%A8%E0%B8%A7%E0%B8%A3&amp;action=edit\" title=\"พระนเรศวร\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">พระนเรศวร</span></a><span style=\"color: #000000\">กับ</span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A1%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%AD%E0%B8%B8%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B2&amp;action=edit\" title=\"พระมหาอุปราชา\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">พระมหาอุปราชา</span></a><span style=\"color: #000000\"> พ.ศ. 2135 </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">        <b>สำหรับสมัยอยุธยามีการยุทธหัตถี รวม ๓ ครั้ง</b> คือ <b>ครั้งแรก</b> ในแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระ อินทราชาพระเจ้าลูกยาเธอได้ชนช้างกับข้าศึกที่นครลำปาง และถูกปืนสิ้นพระชนม์ <b>ครั้งที่สอง</b> ในแผ่นดินพระมหาจักรพรรดิ ได้ชนช้างกับ</span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%9B%E0%B8%A3&amp;action=edit\" title=\"พระเจ้าแปร\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">พระเจ้าแปร</span></a><span style=\"color: #000000\">กรุงหงสาวดี และ</span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B9%87%E0%B8%88%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%B5%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%82%E0%B8%A2%E0%B8%97%E0%B8%B1%E0%B8%A2&amp;action=edit\" title=\"สมเด็จพระศรีสุริโยทัย\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">สมเด็จพระศรีสุริโยทัย</span></a><span style=\"color: #000000\"> ต้องอาวุธข้าศึกทิวงคต และ<b> ครั้งที่สาม</b> ก็คือครั้งที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชชนช้างกับพระมหา </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">อุปราชาแห่งกรุงหงสาวดี จนได้รับชัยชนะ ซึ่งยุทธหัตถีครั้งนี้กล่าวกันว่าเป็นครั้งสุดท้ายในประวัติศาสตร์ และเป็นวีรกรรมครั้งสำคัญที่ทำให้พระเกียรติยศของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเป็นที่เลื่องลือไปไกล </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">        สงครามยุทธหัตถี ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนั้น เกิดเมื่</span><span style=\"color: #000000\">อปี พ.ศ. 2135 เมื่อพระ</span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%87&amp;action=edit\" title=\"เจ้านันทบุเรง\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">เจ้านันทบุเรง</span></a><span style=\"color: #000000\"> ได้ให้พระมหาอุปราชายกทัพใหญ่มาตีกรุงศรีอยุธยา หวังจะเอาชนะให้ได้โดยเด็ดขาด สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงทราบข่าว จึงยกทัพหลวงไปตั้งรับที่หนองสาหร่าย ซึ่งในการต่อสู้กันครั้งนั้น ระหว่างที่การรบกำลังติดพัน ช้างพระที่นั่งของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และ</span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%A8%E0%B8%A3%E0%B8%96&amp;action=edit\" title=\"พระเอกาทศรถ\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">พระเอกาทศรถ</span></a><span style=\"color: #000000\"> ก็พากันไล่ล่าศัตรูอย่างเมามัน จนพาทั้งสองพระองค์ตกไปอยู่ในวงล้อมของข้าศึกโดยไม่รู้ตัว มีเพียง</span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B8%88%E0%B8%95%E0%B8%B8%E0%B8%A5%E0%B8%B1%E0%B8%87%E0%B8%84%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0%B8%97&amp;action=edit\" title=\"จตุลังคบาท\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">จตุลังคบาท</span></a><span style=\"color: #000000\"> (ผู้รักษาเท้าทั้งสี่ของช้างทรง)และทหารรักษาพระองค์เท่านั้นที่ติดตามไปทัน แม้จะอยู่ในสภาวะเสียเปรียบ แต่พระองค์ก็มีพระสติมั่น ไม่หวั่นไหว ทรงมีพระปฏิภาณว่องไวเกิดขึ้น โดยพระอุปนิสัยว่า พระองค์จะรอดได้มีเพียงทางเดียวคือ เชิญพระมหาอุปราชาเสด็จมาทำ ยุทธหัตถี ซึ่งพระองค์ก็สามารถกระทำยุทธหัตถีจนได้ชัยชนะอย่างสมพระเกียรติ และนับแต่นั้นมา ก็ไม่มีกองทัพใดกล้ายกมาตีกรุงศรีอยุธยาอีกเลย มีแต่ฝ่ายไทยยกไปปราบปรามข้าศึก และทำสงครามขยายอาณาเขตให้กว้างขวางขึ้นกว่าแต่ก่อน </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">        สำหรับช้างพระที่นั่งของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่มีชัยแก่ข้าศึกในสงครามยุทธหัตถี แต่เดิมมีชื่อว่า “</span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B8%9E%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%A0%E0%B8%B9%E0%B9%80%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%87&amp;action=edit\" title=\"พลายภูเขาทอง\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">พลายภูเขาทอง</span></a><span style=\"color: #000000\">” เมื่อขึ้นระวางได้เป็น “</span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%8A%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E&amp;action=edit\" title=\"เจ้าพระยาไชยานุภาพ\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">เจ้าพระยาไชยานุภาพ</span></a><span style=\"color: #000000\">” และเมื่อมีชัยก็ได้รับพระราชทานชื่อว่า “</span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B9%80%E0%B8%88%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%9A%E0%B8%AB%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%B2&amp;action=edit\" title=\"เจ้าพระยาปราบหงสา\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">เจ้าพระยาปราบหงสา</span></a><span style=\"color: #000000\">” ส่วนพระแสงของ้าวที่ทรงฟันพระมหาอุปราชา มีชื่อว่า “เจ้าพระยาแสนพลพ่าย” และพระมาลาที่ถูกฟันขาดลงไป ตอนทรงเบี่ยงหลบ มีชื่อว่า “พระมาลาเบี่ยง” สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงเชี่ยวชาญการรบยิ่ง ทรงฉลาดในการวางแผนยุทธวิธี และอุบายกระบวนศึกที่ไม่เหมือนผู้ใดในสมัยเดียวกัน ทรงเป็นผู้ริเริ่มการรบแบบกองโจร คือ ใช้คนน้อยแต่สามารถต่อสู้กับคนจำนวนมากได้ พระองค์มีความสามารถในการใช้อาวุธ ที่ทำการรบแทบทุกชนิดอย่างเชี่ยวชาญยากจะหาผู้ใดเสมอเหมือน </span>\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #000000\">        <b>“วันยุทธหัตถี” </b>หรือที่เรียกว่า<b>“ วันสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ”</b> หมายถึง วันที่ระลึกที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกระทำยุทธหัตถีมีชัยชนะ ต่อสมเด็จพระมหาอุปราชาของพม่า เมื่อ วันจันทร์ เดือน ๒ แรม ๒ ค่ำ จุลศักราช ๙๕๔ อัน ตรงกับวันที่ ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๑๓๕ คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อ วันที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๘ กำหนดให้วันที่ <b>๑๘ มกราคม ของทุกปีเป็น “วันยุทธหัตถี”</b> </span>\n</p>\n<p><span style=\"color: #000000\"></span></p>\n<p><span style=\"color: #000000\">        เจดีย์ยุทธหัตถี เป็นเจดีย์ที่สมเด็จพระนเรศวรรับสั่งให้สร้างขึ้นตรงที่กระทำยุทธหัตถีมีชัยชนะต่อพระมหาอุปราชา ปัจจุบันอยู่ที่ตำบลดอนเจดีย์ ซึ่งเดิมเรียกว่า ตำบลท่าคอยเจดีย์นี้ถูกค้นพบเมื่อพ.ศ.๒๔๕๖ โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ </span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%94%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%99%E0%B8%B8%E0%B8%A0%E0%B8%B2%E0%B8%9E&amp;action=edit\" title=\"กรมพระยาดำรงราชานุภาพ\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">กรมพระยาดำรงราชานุภาพ</span></a><span style=\"color: #000000\"> ทรงรับสั่งให้เจ้าเมือง</span><a href=\"http://null/wiki/index.php?title=%E0%B8%AA%E0%B8%B8%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%9A%E0%B8%B8%E0%B8%A3%E0%B8%B5&amp;action=edit\" title=\"สุพรรณบุรี\" class=\"new\"><span style=\"color: #000000\">สุพรรณบุรี</span></a><span style=\"color: #000000\"> พระทวีประชาชน (อี้ กรรณสูตร) ค้นหาซากเจดีย์เก่าและได้ค้นพบ ซึ่งเชื่อได้ว่าน่าจะเป็น เจดีย์ยุทธหัตถี</span>\n</p>\n<p></p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nผู้จัดทำ\n</p>\n<p>\nน.ส. ชฎาธาล      พู่ทอง            เลขที่ 14 ม.4/3\n</p>\n<p>\nน.ส. ณิรชา        นำวงศ์ษา        เลขที่ 15 ม.4/3\n</p>\n<p>\nน.ส. แพรพลอย    ด่านสุนทรวงศ์   เลขที่ 16 ม.4/3\n</p>\n<p>\nน.ส. กฤชอร        ลี                 เลขที่ 17 ม.4/3\n</p>\n<p>\nน.ส. ศุภกานต์     ศุภวรวงศ์         เลขที่ 18 ม.4/3\n</p>\n', created = 1715993247, expire = 1716079647, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:4ce7fdb6e7d8fbac52c1b30315ecff35' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่มีการใช้เวลาและยุคสมัย

ยุทธหัตถี

        กล่าวกันว่า ในชมพูทวีป(ดินแดนที่เป็นอินเดีย ปากีสถาน เนปาลและบังคลาเทศในปัจจุบัน) ถือเป็นคติมาแต่ดึกดำบรรพ์ว่า ยุทธหัตถีหรือการชนช้างเป็นยอดยุทธวิธีของนักรบ เพราะเป็นการต่อสู้อย่างตัวต่อตัว แพ้ชนะกันด้วยความคล่องแคล่วแกล้วกล้า กับการชำนิชำนาญในการขับขี่ช้างชน โดยมิต้องอาศัยรี้พลหรือกลอุบายแต่อย่างใด เพราะโดยปกติ ในการทำสงครามโอกาสที่จอมทัพทั้งสองฝ่ายจะเข้าใกล้ชิดจนถึงชนช้างกันมีน้อยมาก ดังนั้น กษัตริย์พระองค์ใดกระทำยุทธหัตถีชนะ ก็จะได้รับการยกย่องว่า มีพระเกียรติยศสูงสุด และแม้แต่ผู้แพ้ก็ได้รับการยกย่องสรรเสริญว่า เป็นนักรบแท้ มิได้ติเตียนกันเลย ซึ่งคติที่ว่าเป็นความนิยมของไทยด้วยเช่นกัน

        บนหลังช้างที่ทำยุทธหัตถีนั้นจะมีคนนั่งอยู่สามคน ตัวแม่ทัพจะถือง้าวอยู่ที่คอช้าง คนที่นั่งกลางอยู่บนกูบจะถือหางนกยูงซ้ายขวาโบกเป็นสัญญาณ และคอยส่งอาวุธให้แม่ทัพ (ทราบว่าจะสับเปลี่ยนที่นั่งกันตอนกระทำการรบเท่านั้น) ที่ท้ายช้างจะมีควาญนั่งประจำที่ ตามเท้าช้างทั้งสี่มีพลประจำเรียกว่า จตุรงคบาท คนทั้งหมดจะถืออาวุธ เช่น ปืนปลายขอ หอกซัด ของ้าว ขอเกราะเขน แพน ถ้าเป็นช้างยุทธหัตถีจะมีหอกผูกผ้าสีแดงสองเล่ม ปืนใหญ่หันปากออกข้างขวาหนึ่งกระบอก ข้างซ้ายหนึ่งกระบอก มีนายทหารและพลทหารสวมเกราะ โพกผ้า ช้างที่เข้ากระบวนทัพจะสวมเกราะใส่เกือกหรือรองเท้าเหล็กสำหรับกันขวากหนาม โดยทั้งที่สี่เท้าสวมหน้าราห์ มีปลอกเหล็กสวมงาทั้งคู่ และมีเกราะโว่พันงวงช้าง สำหรับพังหอค่าย โดยไม่เจ็บปวด

 

ยุทธหัตถีที่สำคัญในประวัติศาสตร์ไทยมีอยู่ 5 ครั้ง คือ

ครั้งที่ 1 รัชกาลพ่อขุนศรีอินทราทิตย์

ครั้งที่ 2 สิ้นรัชกาลพระอินทราชา พ.ศ. 1917

ครั้งที่ 3 รัชกาลพระบรมไตรโลกนาถ พ.ศ. 2006

ครั้งที่ 4 รัชกาลพระมหาจักรพรรดิ พ.ศ. 2091 (เกิดวีรสตรีพระศรีสุริโยทัย)

ครั้งที่ 5 พระนเรศวรกับพระมหาอุปราชา พ.ศ. 2135

 

        สำหรับสมัยอยุธยามีการยุทธหัตถี รวม ๓ ครั้ง คือ ครั้งแรก ในแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ พระ อินทราชาพระเจ้าลูกยาเธอได้ชนช้างกับข้าศึกที่นครลำปาง และถูกปืนสิ้นพระชนม์ ครั้งที่สอง ในแผ่นดินพระมหาจักรพรรดิ ได้ชนช้างกับพระเจ้าแปรกรุงหงสาวดี และสมเด็จพระศรีสุริโยทัย ต้องอาวุธข้าศึกทิวงคต และ ครั้งที่สาม ก็คือครั้งที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชชนช้างกับพระมหา

อุปราชาแห่งกรุงหงสาวดี จนได้รับชัยชนะ ซึ่งยุทธหัตถีครั้งนี้กล่าวกันว่าเป็นครั้งสุดท้ายในประวัติศาสตร์ และเป็นวีรกรรมครั้งสำคัญที่ทำให้พระเกียรติยศของสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเป็นที่เลื่องลือไปไกล

 

        สงครามยุทธหัตถี ในสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนั้น เกิดเมื่อปี พ.ศ. 2135 เมื่อพระเจ้านันทบุเรง ได้ให้พระมหาอุปราชายกทัพใหญ่มาตีกรุงศรีอยุธยา หวังจะเอาชนะให้ได้โดยเด็ดขาด สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงทราบข่าว จึงยกทัพหลวงไปตั้งรับที่หนองสาหร่าย ซึ่งในการต่อสู้กันครั้งนั้น ระหว่างที่การรบกำลังติดพัน ช้างพระที่นั่งของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช และพระเอกาทศรถ ก็พากันไล่ล่าศัตรูอย่างเมามัน จนพาทั้งสองพระองค์ตกไปอยู่ในวงล้อมของข้าศึกโดยไม่รู้ตัว มีเพียงจตุลังคบาท (ผู้รักษาเท้าทั้งสี่ของช้างทรง)และทหารรักษาพระองค์เท่านั้นที่ติดตามไปทัน แม้จะอยู่ในสภาวะเสียเปรียบ แต่พระองค์ก็มีพระสติมั่น ไม่หวั่นไหว ทรงมีพระปฏิภาณว่องไวเกิดขึ้น โดยพระอุปนิสัยว่า พระองค์จะรอดได้มีเพียงทางเดียวคือ เชิญพระมหาอุปราชาเสด็จมาทำ ยุทธหัตถี ซึ่งพระองค์ก็สามารถกระทำยุทธหัตถีจนได้ชัยชนะอย่างสมพระเกียรติ และนับแต่นั้นมา ก็ไม่มีกองทัพใดกล้ายกมาตีกรุงศรีอยุธยาอีกเลย มีแต่ฝ่ายไทยยกไปปราบปรามข้าศึก และทำสงครามขยายอาณาเขตให้กว้างขวางขึ้นกว่าแต่ก่อน

 

        สำหรับช้างพระที่นั่งของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ที่มีชัยแก่ข้าศึกในสงครามยุทธหัตถี แต่เดิมมีชื่อว่า “พลายภูเขาทอง” เมื่อขึ้นระวางได้เป็น “เจ้าพระยาไชยานุภาพ” และเมื่อมีชัยก็ได้รับพระราชทานชื่อว่า “เจ้าพระยาปราบหงสา” ส่วนพระแสงของ้าวที่ทรงฟันพระมหาอุปราชา มีชื่อว่า “เจ้าพระยาแสนพลพ่าย” และพระมาลาที่ถูกฟันขาดลงไป ตอนทรงเบี่ยงหลบ มีชื่อว่า “พระมาลาเบี่ยง” สมเด็จพระนเรศวรมหาราช เป็นพระมหากษัตริย์ที่ทรงเชี่ยวชาญการรบยิ่ง ทรงฉลาดในการวางแผนยุทธวิธี และอุบายกระบวนศึกที่ไม่เหมือนผู้ใดในสมัยเดียวกัน ทรงเป็นผู้ริเริ่มการรบแบบกองโจร คือ ใช้คนน้อยแต่สามารถต่อสู้กับคนจำนวนมากได้ พระองค์มีความสามารถในการใช้อาวุธ ที่ทำการรบแทบทุกชนิดอย่างเชี่ยวชาญยากจะหาผู้ใดเสมอเหมือน

 

        “วันยุทธหัตถี” หรือที่เรียกว่า“ วันสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ” หมายถึง วันที่ระลึกที่สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกระทำยุทธหัตถีมีชัยชนะ ต่อสมเด็จพระมหาอุปราชาของพม่า เมื่อ วันจันทร์ เดือน ๒ แรม ๒ ค่ำ จุลศักราช ๙๕๔ อัน ตรงกับวันที่ ๑๘ มกราคม พ.ศ. ๒๑๓๕ คณะรัฐมนตรีจึงได้มีมติเมื่อ วันที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๔๘ กำหนดให้วันที่ ๑๘ มกราคม ของทุกปีเป็น “วันยุทธหัตถี”

        เจดีย์ยุทธหัตถี เป็นเจดีย์ที่สมเด็จพระนเรศวรรับสั่งให้สร้างขึ้นตรงที่กระทำยุทธหัตถีมีชัยชนะต่อพระมหาอุปราชา ปัจจุบันอยู่ที่ตำบลดอนเจดีย์ ซึ่งเดิมเรียกว่า ตำบลท่าคอยเจดีย์นี้ถูกค้นพบเมื่อพ.ศ.๒๔๕๖ โดยสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงรับสั่งให้เจ้าเมืองสุพรรณบุรี พระทวีประชาชน (อี้ กรรณสูตร) ค้นหาซากเจดีย์เก่าและได้ค้นพบ ซึ่งเชื่อได้ว่าน่าจะเป็น เจดีย์ยุทธหัตถี

 

ผู้จัดทำ

น.ส. ชฎาธาล      พู่ทอง            เลขที่ 14 ม.4/3

น.ส. ณิรชา        นำวงศ์ษา        เลขที่ 15 ม.4/3

น.ส. แพรพลอย    ด่านสุนทรวงศ์   เลขที่ 16 ม.4/3

น.ส. กฤชอร        ลี                 เลขที่ 17 ม.4/3

น.ส. ศุภกานต์     ศุภวรวงศ์         เลขที่ 18 ม.4/3

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 382 คน กำลังออนไลน์