• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:a795699d470202de1733e61e050aabbf' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #d7e7ea\"><span style=\"background-color: #ffffff\">เชื่อว่าใครหลายๆคนคงเคยเป็นภูมิแพ้กัน  แต่ เอ๊ะ!? เราเป็นภูมิแพ้ได้ยังไง  ก่อนอื่นเราต้องรู้ก่อนว่าภูมิแพ้คืออะไร?</span></span> </span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #d7e7ea\"><span style=\"background-color: #ffffff\">โรคภูมิแพ้(Allergy) คือ การที่ร่างกายมีปฏิกิริยาต่อสารก่อภุมิแพ้ไวกว่าคนปกติทั่วไป  สารก่อภูมิแพ้ ได้แก่ ฝุ่น ไร ขนสัตว์ เกสรดอกไม้ เชื้อราในอากาศ หรือแท้กระทั่งอาหาร และยา โรคภูมิแพ้แบ่งตามอวัยวะที่เกิดได้ 4 โรคคือ </span></span>\n</p>\n<ul>\n<li><span style=\"background-color: #d7e7ea\"><span style=\"background-color: #ffffff\">โรคโพรงจมูกอักเสบ(แพ้อากาศ) </span></span></li>\n<li><span style=\"background-color: #d7e7ea\"><span style=\"background-color: #ffffff\">โรคตาอักเสบจากภูมิแพ้  </span></span></li>\n<li><span style=\"background-color: #d7e7ea\"><span style=\"background-color: #ffffff\">โรคหอบหืด </span></span></li>\n<li><span style=\"background-color: #d7e7ea\"><span style=\"background-color: #ffffff\">โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง</span></span></li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"background-color: #d7e7ea\"><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #ffffff\"><span style=\"background-color: #d7e7ea\"><img src=\"/\" height=\"1\" width=\"1\" border=\"0\" /></span></span> <img src=\"/\" height=\"1\" width=\"1\" border=\"0\" />                      <img src=\"/C:/Documents%20and%20Settings/Administrator/My%20Documents/My%20Pictures\" height=\"1\" width=\"1\" border=\"0\" /><img src=\"/files/u53836/0001.jpg\" width=\"230\" height=\"183\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา :  <a href=\"http://www.novus-air-thailand.com/images/allergy1.jpg\">http://www.novus-air-thailand.com/images/allergy1.jpg</a>               \n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #d7e7ea\"><span style=\"color: #0e191b\"><span style=\"background-color: #ffffff\"></span></span></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"background-color: #d7e7ea\"><span style=\"background-color: #ffffff\">โรคภูมิแพ้ เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม อาจจะมาจากพ่อหรือแม่ก็ได้ โรคภูมิแพ้สามารถหายได้เองเมื่อโตขึ้น แต่ก็อาจจะกลับมาเองได้เช่นกัน </span></span>\n</p>\n<p>\n<span style=\"background-color: #d7e7ea\"><span style=\"background-color: #ffffff\">       แต่เราก็สามารถรักษาร่างกายให้แข็งแรงปราศจากโรคได้ด้วยการออกกำลังเป็นประจำ รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ พักผ่อนให้เพียงพอ หมั่นทำความสะอาดไม่ให้ห้องหรือที่นอนมีฝุ่น เนื่องจากที่นอนเป็นที่สะสมของฝุ่นและไร ซึ่ีงเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ได้  หลีกเลี่ยงสิ่งที่ก่อให้เกิดอาการแพ้  ในเรื่องของการแพ้อาหาร เป็นสิ่งที่ควรระมัดระวังมาก เพราะการแพ้มีหลายอาการ แล้วแต่บุคคล บางคนแค่เป็นผื่นเล็กน้อย แต่บางคนถึงขั้นตายได้</span></span>\n</p>\n<p style=\"text-align: center\">\n<iframe src=\"http://www.youtube.com/embed/IGDXNHMwcVs?rel=0\" width=\"425\" frameborder=\"0\" height=\"349\"></iframe>\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา :  <a href=\"http://youtu.be/IGDXNHMwcVs\">http://youtu.be/IGDXNHMwcVs</a> \n</p>\n<p>\n<u><b>โรคโพรงจมูกอักเสบ</b></u>\n</p>\n<p>\nจัดเป็นโรคภูมิแพ้ชนิดหนึ่ง ซึ่งพบได้บ่อยในทุกเพศทุกวัย มักมีอาการเป็นๆหาย เรื้อรัง เป็นแรมเดือนแรมปี ผู้ป่วยมักมีประวัติโรคภูมิแพ้ในอดีตหรือครอบครัว เช่น หืด ลมพิษ ผื่นคัน หรือเป็นหวัด จามบ่อยๆ\n</p>\n<p>\n<b>สาเหตุ</b><br />\nเกิดจาก การแพ้สิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติ โดยมีสาเหตุจากกรรมพันธุ์\n</p>\n<p>\n<b>อาการ<br />\n</b>เป็นหวัดคัดจมูก จามบ่อย น้ำมูกมีลักษณะใสๆ มักมีอาการคันในจมูก คันคอ คันตา น้ำตาไหล หรือไอแห้งๆ (แบบระคายคอ) ร่วมด้วย อาการมักเกิดเป็นประจำตอนเช้าๆหรือเวลาถูกอากาศเย็นหรือฝุ่นละอองหรือสารแพ้อื่นๆบางคนพอสายๆก็หายได้เองบางคนเป็นประจำตลอดทั้งปี บางคนเป็นมากในบางฤดูกาล\n</p>\n<p>\n<b>สิ่งที่ตรวจพบ</b><br />\nเยื่อจมูกบวมและซีดหรือเป็นสีม่วงอ่อนๆต่างจากไข้หวัดหรือไซนัสอักเสบ ซึ่งเยื่อจมูกจะมีลักษณะบวมและออกสีแดงมักพบน้ำมูกลักษณะใสๆ (ถ้าน้ำมูกมีสีเหลืองหรือเขียว แสดงว่ามีการติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำเติม) บางคนอาจพบเยื่อตาขาวออกแดงเล็กน้อย\n</p>\n<p>\n<b>การรักษา</b><br />\nแนะนำให้ผู้ป่วยสังเกตว่าแพ้อะไร แล้วพยายามหลีกเลี่ยงจากสิ่งที่แพ้ก็อาจช่วยให้อาการดีถ้ามีอาการควรให้กินยาแก้แพ้ เมื่ออาการดีขึ้นก็ให้หยุดยา แต่ถ้ากำเริบใหม่ก็ให้กินใหม่ บางคนที่เป็นอยู่ประจำทุกวันก็อาจต้องคอยกินยาไปเรื่อยๆ ถ้ากินยาแล้วยังไม่ได้ผลหรือเป็นเรื้อรังนานๆ ควรแนะนำไปโรงพยาบาล ในบางรายอาจต้องทำการทดสอบผิวหนัง (Skin test) ว่าแพ้สารอะไร แล้วให้การรักษาโดยทำ desensitization กล่าวคือ ฉีดสารที่แพ้เข้าร่างกายทีละน้อยๆเป็นประจำทุก 1-2 สัปดาห์นานเป็นปีๆ\n</p>\n<p>\n<b>ข้อแนะนำ</b><br />\nถ้าจำเป็นต้องใช้ยาพ่นจมูก ควรให้แพทย์เป็นผู้พิจารณา เพราะยาบางชนิดที่ใช้บ่อยเกินไปก็อาจทำให้เยื่อจมูกอักเสบมากยิ่งขึ้นได้ ที่สำคัญแนะนำให้ออกกำลังกายเป็นประจำ เช่น วิ่งเหยาะๆ ขี่จักรยาน ว่ายน้ำ อาจช่วยให้โรคภูมิแพ้ทุเลาหรือหายขาดได้ นอกจากนี้การผ่อนคลายความเครียด เช่นฝึกสมาธิ ก็อาจมีส่วนช่วยให้โรคทุเลาได้\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img src=\"/files/u53836/0002.jpg\" width=\"300\" height=\"200\" />\n</p>\n<p align=\"center\">\nที่มา : <a href=\"http://dr.yutthana.com/images/wind07.jpg\">http://dr.yutthana.com/images/wind07.jpg</a> \n</p>\n<p>\n<b><u>โรคตาอักเสบจากภูมิแพ้</u><br />\n</b>เยื่อบุตาอักเสบอาจจะเกิดจากภูมิแพ้หรือเกิดจากการติดเชื้อโรคก็ได้ อาการทางภูมิแพ้มักจะเกิดที่ตาเนื่องจากตาเป็นอวัยวะที่มีเลือดไปเลี้ยงมาก เส้นเลือดเหล่านี้ตอบสนองต่อสารภูมิแพ้ได้ง่าย และที่สำคัญตาสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมภายนอก   เมื่อคุณได้รับสารก่อภูมิแพ้เช่น เกสรดอกไม้ ฝุ่น รังแคสัตว์ ยา ควันบุหรี่ สารภุมิแพ้เหล่านั้นจะละลายในน้ำตา และกลับสู่เยื่อบุตาซึ่งจะสร้างสารต่อต้านสารภูมิแพ้ที่เรียกว่า Antibody IgE เมื่อภูมิจับกับ antibody จะเกิดการหลั่งสารหลายอย่างทำให้เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้ขึ้น ตาของคุณก็จะมีอาการเคือง แดงและมีน้ำตาไหล หนังตามักจะปกติ การมองเห็นจะปกติ และไม่แนะนำให้ใส่ contact lens เนื่องจากอาจจะทำให้เกิดการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดของเยื่อบุตาอักเสบจากภูมิแพ้\n</p>\n<p>\n<b>Seasonal allergic conjunctivitis<br />\n</b>เป็นเยื่อบุตาอักเสบจากภูมิแพ้ที่พบได้บ่อยที่สุดมักจะมีอาการน้ำมูกไหลร่วมด้วยอาการที่สำคัญคือ มีน้ำตาไหล เคืองตา มักจะเป็นกับตาสองข้าง<br />\nอาการมักจะเป็นตามฤดูกาล<br />\n<b>Perrennial allergic conjunctivitis <br />\n</b>เป็นการเกิดภูมิแพ้ที่เกิดจากสารภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นตลอดปีพบได้น้อยกว่าชนิดแรกอาการมักจะน้อกว่าชนิดแรก\n</p>\n<p>\n<b><u>โรคหอบหืด </u></b>\n</p>\n<p>\nปัจจัยที่ทำให้เกิดการตีบตันของหลอดลม คือ\n</p>\n<ul>\n<li>การหดตัวของกล้ามเนื้อรอบๆ หลอดลม </li>\n<li>การบวมอักเสบของเยื่อบุภายในหลอดลม </li>\n<li>เสมหะจำนวนมากที่คั่งค้างอยู่ภายในหลอดลม</li>\n</ul>\n<p>\n<span style=\"color: #0e191b\"></span> การหดตัวของกล้ามเนื้อรอบๆ หลอดลม แท้จริงแล้วเป็นผลจากอักเสบของเยื่อบุหลอดลม การอักเสบส่วนใหญ่จะเป็นการอักเสบเรื้อรังเกิดจากภาวะที่มีการตอบสนองรุนแรงเกินเหตุ\n</p>\n<p>\nโรคหอบหืด ต่างกับโรคอื่นๆ คนไข้บางคนเป็นน้อย บางคนเป็นมาก และอาจเสียชีวิตได้ ภาวะที่กระตุ้นให้ โรคหอบหืด กำเริบก็ต่างกันในแต่ละคนไข้ ตัวอย่างของภาวะหรือสิ่งที่กระตุ้นให้ โรคหอบหืด กำเริบ คือ การหายใจเอาสารที่แพ้เข้าไปในหลอดลม ภาวะติดเชื้อ โพรงจมูกอักเสบ กลิ่นน้ำหอม ยาฆ่าแมลง กลิ่นอับ กลิ่นท่อไอเสีย กลิ่นบุหรี่ ภาวะอากาศเปลี่ยน การออกกำลังกาย โรคทางเดินอาหารบางโรค ภาวะแพ้ยา สารสี สารเคมีต่างๆ  และภาวะเครียด\n</p>\n<p>\nในเด็กที่เป็น โรคหอบหืด ส่วนใหญ่ สองในสามจะมีภาวะภูมิแพ้ด้วย แต่ในผู้ใหญ่ต่างกันที่ส่วนใหญ่จะไม่มีภาวะภูมิแพ้ โดยความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ โรคหอบหืด คือ คนมักเข้าใจว่า โรคหอบหืด เป็นผลจากภาวะภูมิแพ้เสมอไป โรคหอบหืด คนเป็นกันมาก ตามสถิติแล้วมีผู้ป่วยเป็น โรคหอบหืด ประมาณ 10-13% ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ในเด็กชายเป็น โรคหอบหืด มากกว่าเด็กหญิงเล็กน้อย\n</p>\n<p>\nการวินิจฉัย โรคหอบหืด ในเด็กทั่วไปแล้วจะยากกว่าผู้ใหญ่ เพราะเด็กจำนวนไม่น้อยมีอาการอื่นร่วมด้วย เด็กบางคนไม่มีอาการหอบเลยก็ได้ ส่วนใหญ่ประวัติการเจ็บป่วยของเด็ก โรคหอบหืด จะไม่ค่อยสมบูรณ์ เพราะข้อมูลได้มาจากแม่เด็ก พี่เลี้ยง ครูที่โรงเรียน หรือตัวเด็กเอง\n</p>\n<p>\n<b>อาการสำคัญ</b>ของ โรคหอบหืด คือ ไอตอนเช้า กลางคืนตอนดึก ไอเวลาวิ่งเล่น หรือหลังวิ่งเล่น คัดจมูก น้ำมูกไหลร่วมด้วย ในเด็กเล็กที่หอบจากมีสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่ โรคหอบหืด เช่น โรคหัวใจ โรคติดเชื้อในปอด สารแปลกปลอม ถั่ว ข้าวโพดคั่วติดในหลอดลม หรือโรคทางเดินอาหารบางชนิด\n</p>\n<p>\n<b>การติดเชื้อ</b>ของระบบทางเดินหายใจ เป็นสาเหตุใหญ่ที่ทำให้ โรคหอบหืด กำเริบ ส่วนใหญ่ของเชื้อจะเป็นไวรัสที่ติดมาจากโรงเรียน หรือที่ชุมชน เด็กจำนวนมากที่แพ้สารต่างๆ เช่น ไรฝุ่น เชื้อรา แมลงสาบ และอื่นๆ จำเป็นที่จะต้องตรวจสอบให้แน่นอน\n</p>\n<p>\n<b>การรักษา</b> โรคหอบหืด จะต่างกันในคนไข้แต่ละคน ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค อายุคนไข้ และภาวะที่เกิดร่วมกับ โรคหอบหืด เช่น ภาวะภูมิแพ้ หรือโพรงจมูกอักเสบเรื้อรัง โดยทั่วๆ ไป แนวทางรักษาที่ยอมรับโดยผู้เชี่ยวชาญมีอยู่ 4 ข้อดังนี้\n</p>\n<ul>\n<li>\n<div>\n แนะนำให้ใช้การตรวจสอบสมรรถภาพของปอด เพื่อบ่งชี้ความรุนแรงของโรค และเพื่อติดตามวัดผลการรักษา\n </div>\n</li>\n<li>\n<div>\n การใช้ยาเพื่อลดการอักเสบ หรือป้องกันการอักเสบของเยื่อบุหลอดลมร่วมกับการใช้ยา เพื่อคลายกล้ามเนื้อรอบหลอดลมที่หดตัว\n </div>\n</li>\n<li>\n<div>\n การควบคุมภาวะแวดล้อมต่างๆ โดยเฉพาะในคนไข้ที่มีภาวะภูมิแพ้ร่วมด้วย รวมถึงการรักษาเฉพาะเจาะจงในภาวะภูมิแพ้\n </div>\n</li>\n<li>\n<div>\n ต้องให้ความรู้คนไข้ และครอบครัวเกี่ยวกับ โรคหอบหืด และการปฏิบัติตน เช่น เลิกสูบบุหรี่ วิธีการออกกำลังกาย และวิธีใช้ยาที่ถูกต้อง\n </div>\n</li>\n</ul>\n<p><span style=\"color: #0e191b\"></span></p>\n<p>\n<br />\n<b><u>โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง </u></b>(Atopic Dermatitis)\n</p>\n<p>\nท่านทราบหรือไม่ว่า มีเด็กไทยที่อายุต่ำกว่า 14 ปี จำนวน 9 – 16 คนในทุก ๆ 100 คนเป็นโรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนังที่เรียกว่า Atopic Dermatitis ซึ่งโดยทั่วไปประมาณ 50% ของผู้ป่วยจะมีอาการเห่อครั้งแรกภายในขวบปีแรกและประมาณ 80 – 90 % ของผู้ป่วยจะมีอาการเห่อครั้งแรกภายใน 5 ขวบปีแรก โชคดีที่ความรุนแรงของอาการต่าง ๆ จะดีขึ้นเมื่อเด็กเติบโตขึ้น อย่างไรก็ตาม ประมาณหนึ่งในสามของผู้ป่วยจะมีอาการของโรคต่อเนื่องจนเข้าสู่วัยผู้ใหญ่\n</p>\n<p>\nสาเหตุของโรคนี้ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่เชื่อว่ากรรมพันธุ์มีส่วนเกี่ยวข้อง เด็กที่เป็นโรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนังประมาณ 50% มีโอกาสที่จะเป็นโรคหอบหืดต่อไป (โดยเฉพาะเด็กที่มีอาการของโรครุนแรง) และประมาณ 2 ใน 3 ของผู้ป่วยจะเป็นโรคแพ้อากาศร่วมด้วยเมื่อเด็กโตขึ้น\n</p>\n<p>\nผื่นของโรคนี้มักจะขึ้นอย่างสมดุล ซ้าย – ขวา ในเด็กทารกจะพบผื่นอักเสบบริเวณแก้ม ลำคอ บริเวณด้านนอกของแขนและขาทั้ง 2 ข้าง ในเด็กอายุหลัง 2 – 3 ขวบขึ้นไปจะพบผื่นอักเสบกระจายบริเวณลำตัวข้อพับแขน ข้อพับขาทั้ง 2 ข้าง ส่วนในผู้ใหญ่จะพบผื่นอักเสบบริเวณมือและเท้า และผื่นมักไม่รุนแรงเท่าในเด็ก\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\n<b>การรักษาและการบรรเทาอาการ</b>\n</p>\n<p>\nเนื่องจากยังไม่ทราบสาเหตุของการเกิดโรค รวมทั้งโรคนี้เป็นโรคผิวหนังอักเสบแบบเรื้อรัง ปัจจุบันจึงยังไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แนวทางการรักษาจึงเป็นการรักษาผิวหนังที่อักเสบให้กลับมาเป็นผิวหนังที่ปกติและป้องกันการเห่อช้ำของผื่น ด้วยการรักษาความชุ่มชื้นของผิวหนังอย่างสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการอาบน้ำร้อน เพราะจะทำให้ผิวยิ่งแห้งและยิ่งคัน ใช้สบู่อ่อน ๆ หรือเลือกสบู่ที่มีส่วนผสมของไขมันมากหน่อย หลังอาบน้ำควรใช้โลชั่นบำรุงผิวทาภายใน 3 นาที และต้องใช้เป็นประจำ ส่วนเสื้อผ้าควรเลือกที่ทำจากใยฝ้าย ไม่ควรใช้ใยสังเคราะห์ หลีกเลี่ยงปัจจัยที่กระตุ้นการเห่อของผื่น เช่น ความเครียด ความร้อนหรือความเย็นมากเกินไป ไรฝุ่น อาหารบางชนิด เช่น นม ไข่ ถั่วลิสง หากสังเกตว่าปัจจัยเหล่านี้ทำให้ผื่นเป็นมากขึ้น\n</p>\n<p>\nหากมีอาการของผื่นอย่างรุนแรงอาจใช้ยาทาที่มีส่วนผสมของสเตียรอยด์ แต่ไม่ควรใช้ต่อเนื่องนาน ๆ เพราะอาจมีผลข้างเคียง เช่น ผิวบาง ผิวแตกลายงา หรือมีผลต่อระบบต่าง ๆ ในร่างกายได้เมื่อยาถูกดูดซึมเข้าไปมาก ๆ เช่นกดการเจริญเติบโตของเด็ก เมื่ออาการของผื่นทุเลาลงควรเปลี่ยนมาใช้ยากลุ่มที่ไม่ไช่ สเตียรอยด์ เช่น Calcineurin Inhibitors แทน โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการผื่นระดับน้อยถึงปานกลาง แต่ถ้ามีการติดเชื้อมีตุ่มหนอง คราบน้ำเหลือง ควรรักษาด้วยยาปฎิชีวนะ ซึ่งควรให้แพทย์เป็นผู้ตัดสินใจ อาจใช้ยาแก้แพ้ชนิดรับประทานเพื่อบรรเทาอาการคันร่วมด้วย\n</p>\n<p>\n<b>การป้องกันการกำเริบของผื่นอักเสบ (เห่อ)</b>\n</p>\n<p>\nในรายที่เป็นเรื้อรังและมีการเห่อซ้ำบ่อย ๆ อาจทายากลุ่ม Calcineurin Inhibitors เมื่อเริ่มมีอาการและอาการแสดงของผื่นภูมิแพ้ผิวหนังปรากฏขึ้นเช่น ผิวหนังแห้งตึง คันยุบ ๆ ยิบ ๆ มีอาการแสบ ๆ คัน ๆ ซึ่งจะช่วยหยุดหรือทำให้ผื่นภูมิแพ้ผิวหนังลามช้าลง และลดหรือป้องกันการกำเริบของผื่น (อาการเห่อ) ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการควรคุมโรคระยะยาวดีขึ้น\n</p>\n<p>\nปัจจุบันทางเลือกใหม่ในการรักษาโรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนังที่ไม่ใช่ยาทาสเตียรอยด์ หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม โปรดปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางโรคภูมิแพ้ โรคผิวหนัง หรือกุมารแพทย์\n</p>\n<p>\n&nbsp;\n</p>\n<p>\nแหล่งอ้างอิงข้อมูล : \n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.phyathai-sriracha.com/pyt_th/index.php?option=com_content&amp;task=view&amp;id=663&amp;Itemid=27\">http://www.phyathai-sriracha.com/pyt_th/index.php?option=com_content&amp;task=view&amp;id=663&amp;Itemid=27</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://health.kapook.com/view400.html\">http://health.kapook.com/view400.html</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/allergy/conjunctivitis.htm\">http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/allergy/conjunctivitis.htm</a>\n</p>\n<p>\n<a href=\"http://youtu.be/IGDXNHMwcVs\">http://youtu.be/IGDXNHMwcVs</a> \n</p>\n', created = 1729369117, expire = 1729455517, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:a795699d470202de1733e61e050aabbf' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:b8037feb492e44a3f52db6317f0d275f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>เป็นโรคที่ไม่ควรมองข้ามจริง ๆ นะคะ กลไกที่ก่อให้เกิดอาการดังกล่าวเริ่มจากสารก่อ<a href=\"http://www.megawecare.co.th/thai/disease_detail.asp?id=6\">ภูมิแพ้</a>ที่รวมเรียกว่า &quot;อัลเลอเจน&quot; (ALLERGEN) เช่น ไรฝุ่น ฝุ่นละออง เกสรดอกไม้ ลอยมาสัมผัสผิวเยื่อบุในรูจมูก แล้วก่อให้เกิดปฏิกิริยาบวม มีสารคัดหลั่งปรากฏออกมามากมายภายในไม่กี่นาที ทั้งนี้เป็นผลจากการที่ร่างกายใช้มาตรการต่างๆ ต่อสู้สิ่งแปลกปลอม</p>\n', created = 1729369117, expire = 1729455517, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:b8037feb492e44a3f52db6317f0d275f' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ภูมิแพ้...เรื่องเล็กๆที่ไม่ควรมองข้าม!!

รูปภาพของ sss28211

เชื่อว่าใครหลายๆคนคงเคยเป็นภูมิแพ้กัน  แต่ เอ๊ะ!? เราเป็นภูมิแพ้ได้ยังไง  ก่อนอื่นเราต้องรู้ก่อนว่าภูมิแพ้คืออะไร?

โรคภูมิแพ้(Allergy) คือ การที่ร่างกายมีปฏิกิริยาต่อสารก่อภุมิแพ้ไวกว่าคนปกติทั่วไป  สารก่อภูมิแพ้ ได้แก่ ฝุ่น ไร ขนสัตว์ เกสรดอกไม้ เชื้อราในอากาศ หรือแท้กระทั่งอาหาร และยา โรคภูมิแพ้แบ่งตามอวัยวะที่เกิดได้ 4 โรคคือ

  • โรคโพรงจมูกอักเสบ(แพ้อากาศ) 
  • โรคตาอักเสบจากภูมิแพ้ 
  • โรคหอบหืด
  • โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง

                      

ที่มา :  http://www.novus-air-thailand.com/images/allergy1.jpg               

โรคภูมิแพ้ เป็นโรคที่ถ่ายทอดทางพันธุกรรม อาจจะมาจากพ่อหรือแม่ก็ได้ โรคภูมิแพ้สามารถหายได้เองเมื่อโตขึ้น แต่ก็อาจจะกลับมาเองได้เช่นกัน

       แต่เราก็สามารถรักษาร่างกายให้แข็งแรงปราศจากโรคได้ด้วยการออกกำลังเป็นประจำ รับประทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ พักผ่อนให้เพียงพอ หมั่นทำความสะอาดไม่ให้ห้องหรือที่นอนมีฝุ่น เนื่องจากที่นอนเป็นที่สะสมของฝุ่นและไร ซึ่ีงเป็นสาเหตุที่ก่อให้เกิดภูมิแพ้ได้  หลีกเลี่ยงสิ่งที่ก่อให้เกิดอาการแพ้  ในเรื่องของการแพ้อาหาร เป็นสิ่งที่ควรระมัดระวังมาก เพราะการแพ้มีหลายอาการ แล้วแต่บุคคล บางคนแค่เป็นผื่นเล็กน้อย แต่บางคนถึงขั้นตายได้

ที่มา :  http://youtu.be/IGDXNHMwcVs 

โรคโพรงจมูกอักเสบ

จัดเป็นโรคภูมิแพ้ชนิดหนึ่ง ซึ่งพบได้บ่อยในทุกเพศทุกวัย มักมีอาการเป็นๆหาย เรื้อรัง เป็นแรมเดือนแรมปี ผู้ป่วยมักมีประวัติโรคภูมิแพ้ในอดีตหรือครอบครัว เช่น หืด ลมพิษ ผื่นคัน หรือเป็นหวัด จามบ่อยๆ

สาเหตุ
เกิดจาก การแพ้สิ่งที่มีอยู่ตามธรรมชาติ โดยมีสาเหตุจากกรรมพันธุ์

อาการ
เป็นหวัดคัดจมูก จามบ่อย น้ำมูกมีลักษณะใสๆ มักมีอาการคันในจมูก คันคอ คันตา น้ำตาไหล หรือไอแห้งๆ (แบบระคายคอ) ร่วมด้วย อาการมักเกิดเป็นประจำตอนเช้าๆหรือเวลาถูกอากาศเย็นหรือฝุ่นละอองหรือสารแพ้อื่นๆบางคนพอสายๆก็หายได้เองบางคนเป็นประจำตลอดทั้งปี บางคนเป็นมากในบางฤดูกาล

สิ่งที่ตรวจพบ
เยื่อจมูกบวมและซีดหรือเป็นสีม่วงอ่อนๆต่างจากไข้หวัดหรือไซนัสอักเสบ ซึ่งเยื่อจมูกจะมีลักษณะบวมและออกสีแดงมักพบน้ำมูกลักษณะใสๆ (ถ้าน้ำมูกมีสีเหลืองหรือเขียว แสดงว่ามีการติดเชื้อแบคทีเรียซ้ำเติม) บางคนอาจพบเยื่อตาขาวออกแดงเล็กน้อย

การรักษา
แนะนำให้ผู้ป่วยสังเกตว่าแพ้อะไร แล้วพยายามหลีกเลี่ยงจากสิ่งที่แพ้ก็อาจช่วยให้อาการดีถ้ามีอาการควรให้กินยาแก้แพ้ เมื่ออาการดีขึ้นก็ให้หยุดยา แต่ถ้ากำเริบใหม่ก็ให้กินใหม่ บางคนที่เป็นอยู่ประจำทุกวันก็อาจต้องคอยกินยาไปเรื่อยๆ ถ้ากินยาแล้วยังไม่ได้ผลหรือเป็นเรื้อรังนานๆ ควรแนะนำไปโรงพยาบาล ในบางรายอาจต้องทำการทดสอบผิวหนัง (Skin test) ว่าแพ้สารอะไร แล้วให้การรักษาโดยทำ desensitization กล่าวคือ ฉีดสารที่แพ้เข้าร่างกายทีละน้อยๆเป็นประจำทุก 1-2 สัปดาห์นานเป็นปีๆ

ข้อแนะนำ
ถ้าจำเป็นต้องใช้ยาพ่นจมูก ควรให้แพทย์เป็นผู้พิจารณา เพราะยาบางชนิดที่ใช้บ่อยเกินไปก็อาจทำให้เยื่อจมูกอักเสบมากยิ่งขึ้นได้ ที่สำคัญแนะนำให้ออกกำลังกายเป็นประจำ เช่น วิ่งเหยาะๆ ขี่จักรยาน ว่ายน้ำ อาจช่วยให้โรคภูมิแพ้ทุเลาหรือหายขาดได้ นอกจากนี้การผ่อนคลายความเครียด เช่นฝึกสมาธิ ก็อาจมีส่วนช่วยให้โรคทุเลาได้

ที่มา : http://dr.yutthana.com/images/wind07.jpg 

โรคตาอักเสบจากภูมิแพ้
เยื่อบุตาอักเสบอาจจะเกิดจากภูมิแพ้หรือเกิดจากการติดเชื้อโรคก็ได้ อาการทางภูมิแพ้มักจะเกิดที่ตาเนื่องจากตาเป็นอวัยวะที่มีเลือดไปเลี้ยงมาก เส้นเลือดเหล่านี้ตอบสนองต่อสารภูมิแพ้ได้ง่าย และที่สำคัญตาสัมผัสกับสิ่งแวดล้อมภายนอก   เมื่อคุณได้รับสารก่อภูมิแพ้เช่น เกสรดอกไม้ ฝุ่น รังแคสัตว์ ยา ควันบุหรี่ สารภุมิแพ้เหล่านั้นจะละลายในน้ำตา และกลับสู่เยื่อบุตาซึ่งจะสร้างสารต่อต้านสารภูมิแพ้ที่เรียกว่า Antibody IgE เมื่อภูมิจับกับ antibody จะเกิดการหลั่งสารหลายอย่างทำให้เกิดปฏิกิริยาภูมิแพ้ขึ้น ตาของคุณก็จะมีอาการเคือง แดงและมีน้ำตาไหล หนังตามักจะปกติ การมองเห็นจะปกติ และไม่แนะนำให้ใส่ contact lens เนื่องจากอาจจะทำให้เกิดการติดเชื้อแบคทีเรียชนิดของเยื่อบุตาอักเสบจากภูมิแพ้

Seasonal allergic conjunctivitis
เป็นเยื่อบุตาอักเสบจากภูมิแพ้ที่พบได้บ่อยที่สุดมักจะมีอาการน้ำมูกไหลร่วมด้วยอาการที่สำคัญคือ มีน้ำตาไหล เคืองตา มักจะเป็นกับตาสองข้าง
อาการมักจะเป็นตามฤดูกาล
Perrennial allergic conjunctivitis
เป็นการเกิดภูมิแพ้ที่เกิดจากสารภูมิแพ้ที่เกิดขึ้นตลอดปีพบได้น้อยกว่าชนิดแรกอาการมักจะน้อกว่าชนิดแรก

โรคหอบหืด

ปัจจัยที่ทำให้เกิดการตีบตันของหลอดลม คือ

  • การหดตัวของกล้ามเนื้อรอบๆ หลอดลม 
  • การบวมอักเสบของเยื่อบุภายในหลอดลม
  • เสมหะจำนวนมากที่คั่งค้างอยู่ภายในหลอดลม

 การหดตัวของกล้ามเนื้อรอบๆ หลอดลม แท้จริงแล้วเป็นผลจากอักเสบของเยื่อบุหลอดลม การอักเสบส่วนใหญ่จะเป็นการอักเสบเรื้อรังเกิดจากภาวะที่มีการตอบสนองรุนแรงเกินเหตุ

โรคหอบหืด ต่างกับโรคอื่นๆ คนไข้บางคนเป็นน้อย บางคนเป็นมาก และอาจเสียชีวิตได้ ภาวะที่กระตุ้นให้ โรคหอบหืด กำเริบก็ต่างกันในแต่ละคนไข้ ตัวอย่างของภาวะหรือสิ่งที่กระตุ้นให้ โรคหอบหืด กำเริบ คือ การหายใจเอาสารที่แพ้เข้าไปในหลอดลม ภาวะติดเชื้อ โพรงจมูกอักเสบ กลิ่นน้ำหอม ยาฆ่าแมลง กลิ่นอับ กลิ่นท่อไอเสีย กลิ่นบุหรี่ ภาวะอากาศเปลี่ยน การออกกำลังกาย โรคทางเดินอาหารบางโรค ภาวะแพ้ยา สารสี สารเคมีต่างๆ  และภาวะเครียด

ในเด็กที่เป็น โรคหอบหืด ส่วนใหญ่ สองในสามจะมีภาวะภูมิแพ้ด้วย แต่ในผู้ใหญ่ต่างกันที่ส่วนใหญ่จะไม่มีภาวะภูมิแพ้ โดยความเข้าใจผิดเกี่ยวกับ โรคหอบหืด คือ คนมักเข้าใจว่า โรคหอบหืด เป็นผลจากภาวะภูมิแพ้เสมอไป โรคหอบหืด คนเป็นกันมาก ตามสถิติแล้วมีผู้ป่วยเป็น โรคหอบหืด ประมาณ 10-13% ทั้งเด็กและผู้ใหญ่ ในเด็กชายเป็น โรคหอบหืด มากกว่าเด็กหญิงเล็กน้อย

การวินิจฉัย โรคหอบหืด ในเด็กทั่วไปแล้วจะยากกว่าผู้ใหญ่ เพราะเด็กจำนวนไม่น้อยมีอาการอื่นร่วมด้วย เด็กบางคนไม่มีอาการหอบเลยก็ได้ ส่วนใหญ่ประวัติการเจ็บป่วยของเด็ก โรคหอบหืด จะไม่ค่อยสมบูรณ์ เพราะข้อมูลได้มาจากแม่เด็ก พี่เลี้ยง ครูที่โรงเรียน หรือตัวเด็กเอง

อาการสำคัญของ โรคหอบหืด คือ ไอตอนเช้า กลางคืนตอนดึก ไอเวลาวิ่งเล่น หรือหลังวิ่งเล่น คัดจมูก น้ำมูกไหลร่วมด้วย ในเด็กเล็กที่หอบจากมีสาเหตุอื่นที่ไม่ใช่ โรคหอบหืด เช่น โรคหัวใจ โรคติดเชื้อในปอด สารแปลกปลอม ถั่ว ข้าวโพดคั่วติดในหลอดลม หรือโรคทางเดินอาหารบางชนิด

การติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ เป็นสาเหตุใหญ่ที่ทำให้ โรคหอบหืด กำเริบ ส่วนใหญ่ของเชื้อจะเป็นไวรัสที่ติดมาจากโรงเรียน หรือที่ชุมชน เด็กจำนวนมากที่แพ้สารต่างๆ เช่น ไรฝุ่น เชื้อรา แมลงสาบ และอื่นๆ จำเป็นที่จะต้องตรวจสอบให้แน่นอน

การรักษา โรคหอบหืด จะต่างกันในคนไข้แต่ละคน ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของโรค อายุคนไข้ และภาวะที่เกิดร่วมกับ โรคหอบหืด เช่น ภาวะภูมิแพ้ หรือโพรงจมูกอักเสบเรื้อรัง โดยทั่วๆ ไป แนวทางรักษาที่ยอมรับโดยผู้เชี่ยวชาญมีอยู่ 4 ข้อดังนี้

  • แนะนำให้ใช้การตรวจสอบสมรรถภาพของปอด เพื่อบ่งชี้ความรุนแรงของโรค และเพื่อติดตามวัดผลการรักษา
  • การใช้ยาเพื่อลดการอักเสบ หรือป้องกันการอักเสบของเยื่อบุหลอดลมร่วมกับการใช้ยา เพื่อคลายกล้ามเนื้อรอบหลอดลมที่หดตัว
  • การควบคุมภาวะแวดล้อมต่างๆ โดยเฉพาะในคนไข้ที่มีภาวะภูมิแพ้ร่วมด้วย รวมถึงการรักษาเฉพาะเจาะจงในภาวะภูมิแพ้
  • ต้องให้ความรู้คนไข้ และครอบครัวเกี่ยวกับ โรคหอบหืด และการปฏิบัติตน เช่น เลิกสูบบุหรี่ วิธีการออกกำลังกาย และวิธีใช้ยาที่ถูกต้อง


โรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Atopic Dermatitis)

ท่านทราบหรือไม่ว่า มีเด็กไทยที่อายุต่ำกว่า 14 ปี จำนวน 9 – 16 คนในทุก ๆ 100 คนเป็นโรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนังที่เรียกว่า Atopic Dermatitis ซึ่งโดยทั่วไปประมาณ 50% ของผู้ป่วยจะมีอาการเห่อครั้งแรกภายในขวบปีแรกและประมาณ 80 – 90 % ของผู้ป่วยจะมีอาการเห่อครั้งแรกภายใน 5 ขวบปีแรก โชคดีที่ความรุนแรงของอาการต่าง ๆ จะดีขึ้นเมื่อเด็กเติบโตขึ้น อย่างไรก็ตาม ประมาณหนึ่งในสามของผู้ป่วยจะมีอาการของโรคต่อเนื่องจนเข้าสู่วัยผู้ใหญ่

สาเหตุของโรคนี้ยังไม่ทราบแน่ชัด แต่เชื่อว่ากรรมพันธุ์มีส่วนเกี่ยวข้อง เด็กที่เป็นโรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนังประมาณ 50% มีโอกาสที่จะเป็นโรคหอบหืดต่อไป (โดยเฉพาะเด็กที่มีอาการของโรครุนแรง) และประมาณ 2 ใน 3 ของผู้ป่วยจะเป็นโรคแพ้อากาศร่วมด้วยเมื่อเด็กโตขึ้น

ผื่นของโรคนี้มักจะขึ้นอย่างสมดุล ซ้าย – ขวา ในเด็กทารกจะพบผื่นอักเสบบริเวณแก้ม ลำคอ บริเวณด้านนอกของแขนและขาทั้ง 2 ข้าง ในเด็กอายุหลัง 2 – 3 ขวบขึ้นไปจะพบผื่นอักเสบกระจายบริเวณลำตัวข้อพับแขน ข้อพับขาทั้ง 2 ข้าง ส่วนในผู้ใหญ่จะพบผื่นอักเสบบริเวณมือและเท้า และผื่นมักไม่รุนแรงเท่าในเด็ก

 

การรักษาและการบรรเทาอาการ

เนื่องจากยังไม่ทราบสาเหตุของการเกิดโรค รวมทั้งโรคนี้เป็นโรคผิวหนังอักเสบแบบเรื้อรัง ปัจจุบันจึงยังไม่สามารถรักษาให้หายขาดได้ แนวทางการรักษาจึงเป็นการรักษาผิวหนังที่อักเสบให้กลับมาเป็นผิวหนังที่ปกติและป้องกันการเห่อช้ำของผื่น ด้วยการรักษาความชุ่มชื้นของผิวหนังอย่างสม่ำเสมอ หลีกเลี่ยงการอาบน้ำร้อน เพราะจะทำให้ผิวยิ่งแห้งและยิ่งคัน ใช้สบู่อ่อน ๆ หรือเลือกสบู่ที่มีส่วนผสมของไขมันมากหน่อย หลังอาบน้ำควรใช้โลชั่นบำรุงผิวทาภายใน 3 นาที และต้องใช้เป็นประจำ ส่วนเสื้อผ้าควรเลือกที่ทำจากใยฝ้าย ไม่ควรใช้ใยสังเคราะห์ หลีกเลี่ยงปัจจัยที่กระตุ้นการเห่อของผื่น เช่น ความเครียด ความร้อนหรือความเย็นมากเกินไป ไรฝุ่น อาหารบางชนิด เช่น นม ไข่ ถั่วลิสง หากสังเกตว่าปัจจัยเหล่านี้ทำให้ผื่นเป็นมากขึ้น

หากมีอาการของผื่นอย่างรุนแรงอาจใช้ยาทาที่มีส่วนผสมของสเตียรอยด์ แต่ไม่ควรใช้ต่อเนื่องนาน ๆ เพราะอาจมีผลข้างเคียง เช่น ผิวบาง ผิวแตกลายงา หรือมีผลต่อระบบต่าง ๆ ในร่างกายได้เมื่อยาถูกดูดซึมเข้าไปมาก ๆ เช่นกดการเจริญเติบโตของเด็ก เมื่ออาการของผื่นทุเลาลงควรเปลี่ยนมาใช้ยากลุ่มที่ไม่ไช่ สเตียรอยด์ เช่น Calcineurin Inhibitors แทน โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีอาการผื่นระดับน้อยถึงปานกลาง แต่ถ้ามีการติดเชื้อมีตุ่มหนอง คราบน้ำเหลือง ควรรักษาด้วยยาปฎิชีวนะ ซึ่งควรให้แพทย์เป็นผู้ตัดสินใจ อาจใช้ยาแก้แพ้ชนิดรับประทานเพื่อบรรเทาอาการคันร่วมด้วย

การป้องกันการกำเริบของผื่นอักเสบ (เห่อ)

ในรายที่เป็นเรื้อรังและมีการเห่อซ้ำบ่อย ๆ อาจทายากลุ่ม Calcineurin Inhibitors เมื่อเริ่มมีอาการและอาการแสดงของผื่นภูมิแพ้ผิวหนังปรากฏขึ้นเช่น ผิวหนังแห้งตึง คันยุบ ๆ ยิบ ๆ มีอาการแสบ ๆ คัน ๆ ซึ่งจะช่วยหยุดหรือทำให้ผื่นภูมิแพ้ผิวหนังลามช้าลง และลดหรือป้องกันการกำเริบของผื่น (อาการเห่อ) ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการควรคุมโรคระยะยาวดีขึ้น

ปัจจุบันทางเลือกใหม่ในการรักษาโรคผื่นภูมิแพ้ผิวหนังที่ไม่ใช่ยาทาสเตียรอยด์ หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติม โปรดปรึกษาแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางโรคภูมิแพ้ โรคผิวหนัง หรือกุมารแพทย์

 

แหล่งอ้างอิงข้อมูล : 

http://www.phyathai-sriracha.com/pyt_th/index.php?option=com_content&task=view&id=663&Itemid=27

http://health.kapook.com/view400.html

http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/allergy/conjunctivitis.htm

http://youtu.be/IGDXNHMwcVs 

เป็นโรคที่ไม่ควรมองข้ามจริง ๆ นะคะ กลไกที่ก่อให้เกิดอาการดังกล่าวเริ่มจากสารก่อภูมิแพ้ที่รวมเรียกว่า "อัลเลอเจน" (ALLERGEN) เช่น ไรฝุ่น ฝุ่นละออง เกสรดอกไม้ ลอยมาสัมผัสผิวเยื่อบุในรูจมูก แล้วก่อให้เกิดปฏิกิริยาบวม มีสารคัดหลั่งปรากฏออกมามากมายภายในไม่กี่นาที ทั้งนี้เป็นผลจากการที่ร่างกายใช้มาตรการต่างๆ ต่อสู้สิ่งแปลกปลอม

รูปภาพของ ssspoonsak

ดีจ้า

ขอมอบปลาให้ไปเลี้ยงนะจ้ะ

 ที่มาของภาพ http://2.bp.blogspot.com/_7rUu3IhNi9I/TLR00C2uJRI/AAAAAAAABfY/P6v3yNeL54g/s1600/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%A11.jpg

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

รูปภาพของ ssspoonsak

ให้อ้างอิงแหล่งที่มาของภาพไว้ที่ใต้ภาพด้วย

ขอมอบปลาให้ไปเลี้ยงนะจ้ะ

 
ที่มาของภาพ http://upload.tarad.com/images2/59/bd/59bdfb00cace09c128ce3131668942ae.jpg

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 443 คน กำลังออนไลน์