• user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: SELECT data, created, headers, expire, serialized FROM cache_filter WHERE cid = '3:91e8f2f4f3451c121ee165768509a04c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 27.
  • user warning: Table 'cache_filter' is marked as crashed and should be repaired query: UPDATE cache_filter SET data = '<!--paging_filter--><p>\n<b><span style=\"color: #0000ff\">ฟันคุด</span> </b>คือ ฟันธรรมชาติที่ไม่สามารถโผล่พ้นกระดูกและเหงือกขึ้นมาในช่องปากได้เต็มซี่  สาเหตุที่ฟันขึ้นไม่ได้มีหลายประการ เช่น ถูกกีดกันจากฟันข้างเคียง มีกระดูกหรือเหงือกคลุมอยู่หนาจนไม่สามารถโผล่ขึ้นมาได้ หรือขึ้นอยู่ในที่ที่ไม่ควรขึ้นเช่น ขอบล่างของกระดูกขากรรไกรล่าง เป็นต้น\n</p>\n<p>\nฟันคุดที่พบบ่อยที่สุดจะเป็นฟันกรามล่างซี่สุดท้าย รองลงมาคือฟันกรามบนซี่สุดท้าย อีกตำแหน่งที่มักพบได้แก่ฟันเขี้ยวบางคนอาจจะไม่มีฟันคุดหรือมีเฉพาะฟันบนหรือฟันล่าง บางครั้งมีแต่ข้างขวา ข้างซ้ายไม่มี อย่างไรก็ดีฟันกรามซี่สุดท้ายที่ขึ้นมาได้เต็มที่สามารถใช้งานได้ ตลอดจนสามารถทำความสะอาดได้ดีก็ไม่มีความจำเป็นต้องเอาออก\n</p>\n<p align=\"center\">\n<img height=\"151\" width=\"250\" src=\"/files/u817/94299429.jpg\" /> \n</p>\n<p align=\"center\">\n(ที่มาของรูปป: <a href=\"http://www.thaigoodview.com/files/u7216/94299429.jpg\" title=\"http://www.thaigoodview.com/files/u7216/94299429.jpg\">http://www.thaigoodview.com/files/u7216/94299429.jpg</a> )\n</p>\n<p>\n<span style=\"color: #ff6600\"><span style=\"color: #ff0000\">ช่วงอายุที่พบฟันคุดบ่อย</span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\nช่วงอายุที่พบฟันคุดได้บ่อย คือ ประมาณ 17-25 ปี อย่างไรก็ตามพบว่า กลุ่มหนุ่มสาวบางคนมีฟันคุดของฟันกรามซี่สุดท้ายตั้งแต่อายุประมาณ 17 ปี ฟันคุดที่มีนี้บางคนจะมีอาการปวด บวม แต่บางคนกลับไม่มีอาการเลย\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff0000\"><span style=\"color: #0000ff\">ทำไมต้องผ่าฟันคุด </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\n1.เพื่อป้องกันการอักเสบของเหงือกที่ปกคลุมฟัน เพราะจะมีเศษอาหารเข้าไปติดอยู่ใต้เหงือก  เมื่อไม่สามารถทำความสะอาด ได้เชื้อแบคทีเรียที่มาสะสมอยู่จะทำให้เหงือกอักเสบ ปวดและเป็นหนอง ถ้าทิ้งไว้การอักเสบจะลุกลามไปใต้คางหรือใต้ลิ้นซึ่งจะทำให้เกิดการแพร่กระจายของเชื้อโรคไปยังส่วนอื่นๆของร่างกายได้อย่างง่าย นับว่าเป็นอันตรายอย่างยิ่งเนื่องจากมีผู้ป่วยจำนวนไม่น้อยที่ต้องเข้านอนโรงพยาบาลเพื่อรักษาการติดเชื้อจากฟันคุดนี้\n</p>\n<p align=\"left\">\n2.เพื่อป้องกันการผุที่ซอกฟันระหว่างฟันคุดกับฟันกรามซี่ที่สองที่อยู่ชิดติดกัน เนื่องจากทำความสะอาดได้ยากเพราะเป็นซอกเล็กและแคบ เศษอาหารจะติดค้างอยู่ทำให้เกิดฟันผุได้ทั้งสองซี่\n</p>\n<p align=\"left\">\n3.เพื่อป้องกันการละลายตัวของกระดูก เนื่องจากแรงดันของฟันคุดที่พยายามดันขึ้นมา จะทำให้กระดูกรอบรากฟันหรือรากฟันข้างเคียงถูกทำลายไป\n</p>\n<p align=\"left\">\n4.เพื่อป้องกันการเกิดถุงน้ำหรือเนื้องอก ฟันคุดที่ทิ้งไว้นานไปจะก่อปัญหา อาจเกิดเป็นถุงน้ำแล้วโตขึ้นโดยไม่แสดงอาการเลยจนในที่สุดเกิดเป็นเนื้องอกทำลายฟันซี่ข้างเคียง และกระดูกรอบๆบริเวณนั้น\n</p>\n<p align=\"left\">\n5.เพื่อป้องกันกระดูกขากรรไกรหัก เนื่องด้วยการมีฟันคุดฝังอยู่จะทำให้กระดูกบริเวณนั้นบางกว่าที่อื่น เกิดเป็นจุดอ่อนเมื่อเวลาได้รับอุบัติเหตุ หรือ กระทบกระแทก กระดูกขากรรไกรบริเวณนั้นจะหักได้ง่าย\n</p>\n<p align=\"left\">\n6.วัตถุประสงค์อื่นๆ เช่น ในการจัดฟันต้องถอนฟันกรามซี่ที่สามออกเสียก่อนเพื่อให้ง่ายต่อการเคลื่อนฟันซี่อื่น\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #ff00ff\"><span style=\"color: #ff00ff\">จะรู้ได้อย่างไรว่ามีฟันคุด</span></span></p>\n<p>ผู้ป่วยบางคนรู้ได้ด้วยตนเองเพราะมีปัญหา อาการปวดเป็นอาการสำคัญที่พบบ่อยของฟันคุด รองลงมาคือ อักเสบ บวม มีกลิ่นเหม็นหรือเป็นหนอง บางคนบวมออกมาจนถึงข้างแก้ม คางหรือขึ้นไปใต้ตา ผู้ป่วยที่มีอาการอักเสบหรือติดเชื้อมักมีปัญหาอ้าปากได้น้อย มีไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต เป็นต้น ส่วนในเด็กควรสังเกตุว่าฟันแท้ซี่ไหนไม่ขึ้นทั้งที่ควรขึ้นมาได้แล้ว สำหรับหนุ่มสาวให้สังเกตดูว่าฟันครบสามสิบสองซี่หรือไม่ ฟันซี่สุดท้ายหายไปหรือไม่ หากหายไปให้ไปพบทันตแพทย์เพื่อถ่ายเอ็กซ์เรย์ดู\n</p>\n<div align=\"center\">\n<br />\n<img height=\"145\" width=\"377\" src=\"/files/u817/61.jpg\" />\n</div>\n<div align=\"center\">\n(ที่มาของภาพ :http://www.dentistdentalcenter.com/impacted_th.html)\n</div>\n<p>\n<span style=\"color: #008000\"><br />\n<span style=\"color: #339966\">จะผ่าฟันคุดเมื่อไหร่ดี</span></span></p>\n<p>การผ่าฟันคุดควรทำในวัยหนุ่มสาว เพราะสุขภาพแข็งแรงแผลหายเร็ว ตรงข้ามกับผู้สูงอายุที่ทำได้ยากกว่าเพราะฟันจะติดแน่นกับกระดูก การหายของแผลจะช้ากว่าในเด็ก ข้อพิจารณาอีกประการหนึ่งที่สำคัญคือเรื่องอาการ ผู้ป่วยมักจะมาผ่าฟันคุดต่อเมื่อมีอาการ ซึ่งในขณะนั้นมักอยู่ในระหว่างอาการอักเสบ เป็นหนอง ปวด และอ้าปากได้น้อย ซึ่งทำให้การรักษายุ่งยากและเกิดปัญหาได้มากกว่าในผู้ป่วยที่ไม่มีอาการ</p>\n<p>ดังนั้นทางที่ดีควรจัดการให้เรียบร้อยในภาวะปกติที่ไม่มีอาการ และขณะร่างกายแข็งแรงส่วนวันที่เหมาะสมควรเลือกช่วงเวลาที่ไม่มีงานสำคัญเร่งด่วน หรือมีการสอบ เนื่องจากหลังการผ่าตัดอาจมีอาการปวดบวมไปได้หลายวัน\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #0000ff\"><span style=\"color: #ff6600\">การรักษา </span></span>\n</p>\n<p align=\"left\">\nการรักษาฟันคุด แนะนำให้ถอนออกแม้ว่าจะไม่มีอาการเจ็บปวด การถอนออก บางครั้งมีความจำเป็นที่จะต้องผ่าตัดเหงือกร่วมกับการกรอกระดกบ้าง  อย่างที่เคยได้ยินว่า ผ่าฟันคุด สำหรับบางรายที่จำเป็นต้องผ่าฟันคุดในฟันกรามล่างซี่ที่สาม อาจจำเป็นต้องถอนฟันกรามบนซี่ในสุดด้วย (ถ้ามี) เพราะฟันซี่นี้ไม่มีฟันคู่สบเนื่องจากถูกถอนออกไปแล้ว บางครั้งอาจเป็นโทษอีกด้วย เพราะอาจกัดลงมาโดนเหงือกด้านล่างทำให้เป็นแผลอักเสบ\n</p>\n<p align=\"left\">\nในกรณีที่ฟันคุดไม่มีอาการปวดต้องถอนออก ที่เป็นเช่นนี้เพราะว่าฟันคุดเป็นฟันที่ขึ้นมาไม่ครบซี่ทำให้การทำความ สะอาดเป็นไปได้ยาก ซึ่งจะทำให้ฟันซี่นั้นผุได้ง่ายและอาจทำให้มีเชื้อโรคสะสมอยู่รอบๆเหงือกบริเวณนั้นมากจะเกิดเป็นโรค เหงือกได้อีกด้วย ในผู้ป่วยบางราย ฟันคุดที่ขึ้นมาเอียงๆอาจจะไปดันฟันที่ขวางอยู่ข้างหน้า ทำให้ฟันข้างหน้าได้รับความเสียหายด้วย นอกจากนี้ในกรณีที่ฟันคุดฝังตัวอยู่ในขากรรไกรทั้งซี่เลย อาจจะมีการแปรสภาพตัวเองไปเป็นถุงน้ำ ซึ่งจะไปทำลายส่วนของกระดูกขากรรไกรได้อีกด้วย\n</p>\n<p align=\"left\">\n&nbsp;\n</p>\n<p align=\"left\">\n<span style=\"color: #800080\">การดูแลตัวเองหลังผ่าฟันคุด</span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\"><iframe width=\"560\" frameBorder=\"0\" src=\"http://www.youtube.com/embed/A8Poaxeoa_Y?rel=0\" height=\"349\"></iframe></span>\n</p>\n<p align=\"center\">\n<span style=\"color: #800080\">(ที่มา:http://www.youtube.com/watch?v=A8Poaxeoa_Y)</span><span style=\"color: #800080\"></span>\n</p>\n', created = 1720435896, expire = 1720522296, headers = '', serialized = 0 WHERE cid = '3:91e8f2f4f3451c121ee165768509a04c' in /home/tgv/htdocs/includes/cache.inc on line 112.

ฟันคุดคืออะไร

รูปภาพของ sss28171

ฟันคุด คือ ฟันธรรมชาติที่ไม่สามารถโผล่พ้นกระดูกและเหงือกขึ้นมาในช่องปากได้เต็มซี่  สาเหตุที่ฟันขึ้นไม่ได้มีหลายประการ เช่น ถูกกีดกันจากฟันข้างเคียง มีกระดูกหรือเหงือกคลุมอยู่หนาจนไม่สามารถโผล่ขึ้นมาได้ หรือขึ้นอยู่ในที่ที่ไม่ควรขึ้นเช่น ขอบล่างของกระดูกขากรรไกรล่าง เป็นต้น

ฟันคุดที่พบบ่อยที่สุดจะเป็นฟันกรามล่างซี่สุดท้าย รองลงมาคือฟันกรามบนซี่สุดท้าย อีกตำแหน่งที่มักพบได้แก่ฟันเขี้ยวบางคนอาจจะไม่มีฟันคุดหรือมีเฉพาะฟันบนหรือฟันล่าง บางครั้งมีแต่ข้างขวา ข้างซ้ายไม่มี อย่างไรก็ดีฟันกรามซี่สุดท้ายที่ขึ้นมาได้เต็มที่สามารถใช้งานได้ ตลอดจนสามารถทำความสะอาดได้ดีก็ไม่มีความจำเป็นต้องเอาออก

 

(ที่มาของรูปป: http://www.thaigoodview.com/files/u7216/94299429.jpg )

ช่วงอายุที่พบฟันคุดบ่อย

ช่วงอายุที่พบฟันคุดได้บ่อย คือ ประมาณ 17-25 ปี อย่างไรก็ตามพบว่า กลุ่มหนุ่มสาวบางคนมีฟันคุดของฟันกรามซี่สุดท้ายตั้งแต่อายุประมาณ 17 ปี ฟันคุดที่มีนี้บางคนจะมีอาการปวด บวม แต่บางคนกลับไม่มีอาการเลย

 

ทำไมต้องผ่าฟันคุด

1.เพื่อป้องกันการอักเสบของเหงือกที่ปกคลุมฟัน เพราะจะมีเศษอาหารเข้าไปติดอยู่ใต้เหงือก  เมื่อไม่สามารถทำความสะอาด ได้เชื้อแบคทีเรียที่มาสะสมอยู่จะทำให้เหงือกอักเสบ ปวดและเป็นหนอง ถ้าทิ้งไว้การอักเสบจะลุกลามไปใต้คางหรือใต้ลิ้นซึ่งจะทำให้เกิดการแพร่กระจายของเชื้อโรคไปยังส่วนอื่นๆของร่างกายได้อย่างง่าย นับว่าเป็นอันตรายอย่างยิ่งเนื่องจากมีผู้ป่วยจำนวนไม่น้อยที่ต้องเข้านอนโรงพยาบาลเพื่อรักษาการติดเชื้อจากฟันคุดนี้

2.เพื่อป้องกันการผุที่ซอกฟันระหว่างฟันคุดกับฟันกรามซี่ที่สองที่อยู่ชิดติดกัน เนื่องจากทำความสะอาดได้ยากเพราะเป็นซอกเล็กและแคบ เศษอาหารจะติดค้างอยู่ทำให้เกิดฟันผุได้ทั้งสองซี่

3.เพื่อป้องกันการละลายตัวของกระดูก เนื่องจากแรงดันของฟันคุดที่พยายามดันขึ้นมา จะทำให้กระดูกรอบรากฟันหรือรากฟันข้างเคียงถูกทำลายไป

4.เพื่อป้องกันการเกิดถุงน้ำหรือเนื้องอก ฟันคุดที่ทิ้งไว้นานไปจะก่อปัญหา อาจเกิดเป็นถุงน้ำแล้วโตขึ้นโดยไม่แสดงอาการเลยจนในที่สุดเกิดเป็นเนื้องอกทำลายฟันซี่ข้างเคียง และกระดูกรอบๆบริเวณนั้น

5.เพื่อป้องกันกระดูกขากรรไกรหัก เนื่องด้วยการมีฟันคุดฝังอยู่จะทำให้กระดูกบริเวณนั้นบางกว่าที่อื่น เกิดเป็นจุดอ่อนเมื่อเวลาได้รับอุบัติเหตุ หรือ กระทบกระแทก กระดูกขากรรไกรบริเวณนั้นจะหักได้ง่าย

6.วัตถุประสงค์อื่นๆ เช่น ในการจัดฟันต้องถอนฟันกรามซี่ที่สามออกเสียก่อนเพื่อให้ง่ายต่อการเคลื่อนฟันซี่อื่น

 

จะรู้ได้อย่างไรว่ามีฟันคุด

ผู้ป่วยบางคนรู้ได้ด้วยตนเองเพราะมีปัญหา อาการปวดเป็นอาการสำคัญที่พบบ่อยของฟันคุด รองลงมาคือ อักเสบ บวม มีกลิ่นเหม็นหรือเป็นหนอง บางคนบวมออกมาจนถึงข้างแก้ม คางหรือขึ้นไปใต้ตา ผู้ป่วยที่มีอาการอักเสบหรือติดเชื้อมักมีปัญหาอ้าปากได้น้อย มีไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต เป็นต้น ส่วนในเด็กควรสังเกตุว่าฟันแท้ซี่ไหนไม่ขึ้นทั้งที่ควรขึ้นมาได้แล้ว สำหรับหนุ่มสาวให้สังเกตดูว่าฟันครบสามสิบสองซี่หรือไม่ ฟันซี่สุดท้ายหายไปหรือไม่ หากหายไปให้ไปพบทันตแพทย์เพื่อถ่ายเอ็กซ์เรย์ดู


(ที่มาของภาพ :http://www.dentistdentalcenter.com/impacted_th.html)


จะผ่าฟันคุดเมื่อไหร่ดี

การผ่าฟันคุดควรทำในวัยหนุ่มสาว เพราะสุขภาพแข็งแรงแผลหายเร็ว ตรงข้ามกับผู้สูงอายุที่ทำได้ยากกว่าเพราะฟันจะติดแน่นกับกระดูก การหายของแผลจะช้ากว่าในเด็ก ข้อพิจารณาอีกประการหนึ่งที่สำคัญคือเรื่องอาการ ผู้ป่วยมักจะมาผ่าฟันคุดต่อเมื่อมีอาการ ซึ่งในขณะนั้นมักอยู่ในระหว่างอาการอักเสบ เป็นหนอง ปวด และอ้าปากได้น้อย ซึ่งทำให้การรักษายุ่งยากและเกิดปัญหาได้มากกว่าในผู้ป่วยที่ไม่มีอาการ

ดังนั้นทางที่ดีควรจัดการให้เรียบร้อยในภาวะปกติที่ไม่มีอาการ และขณะร่างกายแข็งแรงส่วนวันที่เหมาะสมควรเลือกช่วงเวลาที่ไม่มีงานสำคัญเร่งด่วน หรือมีการสอบ เนื่องจากหลังการผ่าตัดอาจมีอาการปวดบวมไปได้หลายวัน

 

การรักษา

การรักษาฟันคุด แนะนำให้ถอนออกแม้ว่าจะไม่มีอาการเจ็บปวด การถอนออก บางครั้งมีความจำเป็นที่จะต้องผ่าตัดเหงือกร่วมกับการกรอกระดกบ้าง  อย่างที่เคยได้ยินว่า ผ่าฟันคุด สำหรับบางรายที่จำเป็นต้องผ่าฟันคุดในฟันกรามล่างซี่ที่สาม อาจจำเป็นต้องถอนฟันกรามบนซี่ในสุดด้วย (ถ้ามี) เพราะฟันซี่นี้ไม่มีฟันคู่สบเนื่องจากถูกถอนออกไปแล้ว บางครั้งอาจเป็นโทษอีกด้วย เพราะอาจกัดลงมาโดนเหงือกด้านล่างทำให้เป็นแผลอักเสบ

ในกรณีที่ฟันคุดไม่มีอาการปวดต้องถอนออก ที่เป็นเช่นนี้เพราะว่าฟันคุดเป็นฟันที่ขึ้นมาไม่ครบซี่ทำให้การทำความ สะอาดเป็นไปได้ยาก ซึ่งจะทำให้ฟันซี่นั้นผุได้ง่ายและอาจทำให้มีเชื้อโรคสะสมอยู่รอบๆเหงือกบริเวณนั้นมากจะเกิดเป็นโรค เหงือกได้อีกด้วย ในผู้ป่วยบางราย ฟันคุดที่ขึ้นมาเอียงๆอาจจะไปดันฟันที่ขวางอยู่ข้างหน้า ทำให้ฟันข้างหน้าได้รับความเสียหายด้วย นอกจากนี้ในกรณีที่ฟันคุดฝังตัวอยู่ในขากรรไกรทั้งซี่เลย อาจจะมีการแปรสภาพตัวเองไปเป็นถุงน้ำ ซึ่งจะไปทำลายส่วนของกระดูกขากรรไกรได้อีกด้วย

 

การดูแลตัวเองหลังผ่าฟันคุด

(ที่มา:http://www.youtube.com/watch?v=A8Poaxeoa_Y)

รูปภาพของ ssspoonsak

ดีจ้า

ขอมอบปลาให้ไปเลี้ยงนะจ้ะ

 ที่มาของภาพ http://2.bp.blogspot.com/_7rUu3IhNi9I/TLR00C2uJRI/AAAAAAAABfY/P6v3yNeL54g/s1600/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%87%E0%B8%B2%E0%B8%A11.jpg

ครูพูนศักดิ์ สักกทัตติยกุล
ทำด้วยใจ ไปด้วยฝัน

มหาวิทยาลัยศรีปทุม ผู้ใหญ่ใจดี
 

 ช่วยด้วยครับ
นักเรียนที่สร้างบล็อก กรุณาอย่า
คัดลอกข้อมูลจากเว็บอื่นทั้งหมด
ควรนำมาจากหลายๆ เว็บ แล้ววิเคราะห์ สังเคราะห์ และเขียนขึ้นใหม่
หากคัดลอกทั้งหมด จะถูกดำเนินคดี
ตามกฎหมายจากเจ้าของลิขสิทธิ์
มีโทษทั้งจำคุกและปรับในอัตราสูง

ช่วยกันนะครับ 
ไทยกู๊ดวิวจะได้อยู่นานๆ 
ไม่ถูกปิดเสียก่อน

ขอขอบคุณในความร่วมมือครับ

อ่านรายละเอียด

ด่วน...... ขณะนี้
พระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2558 
มีผลบังคับใช้แล้ว 
ขอให้นักเรียนและคุณครูที่ใช้งาน
เว็บ thaigoodview ในการส่งการบ้าน
ระมัดระวังการละเมิดลิขสิทธิ์ด้วย
อ่านรายละเอียดที่นี่ครับ

 

สมาชิกที่ออนไลน์

ขณะนี้มี สมาชิก 0 คน และ ผู้เยี่ยมชม 449 คน กำลังออนไลน์