หน้าหลัก | นักฟิสิกส์ | คำศัพท์ฟิสิกส์ | ตัวอย่างข้อสอบ | ผู้จัดทำ











 

                                                     แสง  

        การสะท้อนของแสง
       มุมตกกระทบ = มุมสะท้อน ภาพที่เกิดจากกระจกเงาราบ จะได้ภาพเสมือนหัวตั้งกลับซ้ายขวา ขนาดภาพเท่ากับขนาดวัตถุและระยะภาพเท่ากับระยะวัตถุการสะท้อนของกระจกโค้ง
          1. f = ความยาวโฟกัส
             R = รัศมีความโค้งของกระจก
             S = ระยะวัตถุ
             ระยะภาพ  
         2. กำลังขยาย
      ภาพจริง - ระยะวัตถุ (s) และระยะภาพ จะเป็นบวก (+) ภาพเสมือน - ระยะวัตถุ และระยะภาพ จะเป็นลบ (-)
กระจกเว้า และเลนส์นูน - ระยะโฟกัส (f) จะเป็นบวก (+)  กระจกนูนและเลนส์เว้า - ระยะโฟกัส จะเป็นลบ (-)
ทัศนอุปกรณ์ต่าง ๆ
         1. เครื่องฉายภาพนิ่ง - ให้ภาพจริงขนาดขยายบนฉากรับโดยใส่ slide ที่ ระยะ 2S > f แต่ < 2f
         2. แว่นขยาย - ให้ภาพเสมือนขนาดขยาย โดยใช้เลนส์นูนที่ระยะ S < f
         3. กล้องถ่ายรูป - ให้ภาพจริงหัวกลับขนาดย่อบนแผ่นฟิล์ม โดยผู้ที่ถูกถ่ายจะยืนที่ระยะ S > 2f
         4. กล้องจุลทรรศน์ - ให้ภาพสุดท้ายเป็นภาพเสมือนหัวกลับขนาดขยายโดยจะต้องใช้เลนส์นูน 2 อัน อันแรกเป็นเลนส์วัตถุ จะให้ภาพจริงหัวกลับ ขนาดขยาย ส่วนอันดับที่ 2 เป็นเลนส์ตา ให้ภาพเสมือนหัวตั้งขนาดขยาย จึงได้ภาพสุดท้ายเป็นภาพเสมือนหัวกลับขนาดขยาย กำลังขยาย = กำลังขยายเลนส์ตา x กำลังขยายเลนส์วัตถุ
         5. กล้องโทรทัศน์ - ให้ภาพเสมือนหัวกลับ ขนาดเล็กกว่าวัตถุ
        การหักเหของแสง การหักเห เกิดจากอัตราเร็วของคลื่นแสงในตัวกลางทั้งสองไม่เท่ากัน
   n2 = ดัชนีหักเหของตัวกลาง 2        n1 = ดัชนีหักเหของตัวกลาง 1    v = ความเร็วของแสง = มุมตกกระทบ = ความยาวคลื่น    n = ดัชนีหักเหของตัวกลางเทียบกับอากาศ  c = ความเร็วของแสงในอากาศ v = ความเร็วของแสงในตัวกลางใด ๆ ตัวกลางโปร่งอาทิ เช่น อากาศ จะมีค่าดัชนีหักเหน้อย แต่จะมี มาก มุมวิกฤต
     มุมวิกฤต คือ มุมตกกระทบที่ทำให้มุมหักเหเป็น 90o ปรากฎการสะท้อนกลับหมด มุมตกกระทบจะมากกว่ามุมวิกฤต เกิดจากการที่คลื่นแสงเคลื่อนที่จากตัวกลางที่มีค่าดรรชนีหักเหมากไปสู่ตัวกลางที่มีดรรชนีหักเหน้อย ถ้ามุมตกกระทบ จะสะท้อนกลับหมด ระยะจริงและระยะปรากฎ มองตรง : มองเฉียง : = ระยะปรากฎ S = ระยะจริง = ดัชนีหักเหของตา n = ดัชนีหักเหของวัตถุ การมองจากตัวกลางโปร่ง ตัวกลางทึบ ระยะปรากฎ < ระยะจริง มองจากตัวกลางทึบ ตัวกลางโปร่ง ระยะปรากฎ >
      ระยะจริง โพลาไรเซซัน เมื่อแสงตกกระทบตัวกลางแล้วเกิดการหักเห และสะท้อนกลับทำมุม 90o ซึ่งกันและกัน มุมกระทบนี้เรียกว่า Polarizing Angle แสงที่สะท้อนจะเป็นแสงโพลาไรซ์  nx = ดัชนีหักเหของตัวกลาง   = มุม Polarizing Angle
      การแทรกสอดของคลื่นแสง
      1. เกิดจากช่องแถบคู่ แถบสว่าง : แถบมืด :
      2. เกิดจากช่องแถบเดี่ยว แถบสว่าง : แถบมืด : ความสว่างของแสง E = ความสว่างของแสง หน่วยเป็นลูเมนซ์ / ตรม. หรือ ลักซ์ F = ฟลักซ์ของการส่องสว่าง หน่วยเป็นลูเมนซ์ A = พื้นที่ฉาก แม่สีของแสงสีปฐมภูมิ คือ แดง เขียว น้ำเงิน แม่สีของสารสีปฐมภูมิ คือ แดงม่วง เหลือง น้ำเงินเขียว

 

    หน้าหลัก

  

 

 

 

 

 

                                                                                                       ติดต่อ
                                                                          นางสาว   จิราพร      พูลผกา      E_mail :  
pulpaka7928@hotmail.com
                                                                          นาย        บุญธเรศ   จันเทวา       E_mail :  B.buntares@gmail.com
                                                                          นางสาว    นฤมล        น้ำใจ       E_mail :